กระดูกเทียมจาก ‘3D Printing’ นวัตกรรมแพทย์ที่ช่วยผู้ป่วยให้มีชีวิตใหม่อีกครั้ง

เปิดห้องทดลองสิ่งประดิษฐ์จาก ‘3D Printing’ นำมาใช้ในวงการแพทย์ ที่อาจจะเป็นจุดเริ่มต้นการรักษาผู้ป่วยให้รอดชีวิตมากกว่าเคย ผ่านการคุยกับ ‘รศ.นพ.ม.ล. ชาครีย์ กิติยากร’ หัวหน้าศูนย์พัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์ (Mind Center) ของโรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ริเริ่มนำ 3D Printing มาทดลองรักษาผู้ป่วย และอยากพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์ให้เข้าถึงคนไทยได้อย่างแพร่หลาย มาดูกันว่าสิ่งประดิษฐ์จากเครื่อง 3D Printing จะมีอะไรบ้าง ต้องติดตามกัน !

เมื่อจุฬาฯ สวมบทบาทเป็น ‘ผู้สร้างเมือง’

เมื่อวันนี้จุฬาฯ สวมบทบาทเป็น ‘ผู้สร้างเมือง’ ด้วยตัวเอง ร่วมพูดคุยกับ ‘รศ.ดร. วิศณุ ทรัพย์สมพล’ รองอธิการบดี ด้านการจัดการทรัพย์สินและกายภาพ สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงแนวคิดในการพัฒนาพื้นที่บริเวณสามย่านให้เป็นเมืองต้นแบบอัจฉริยะ

‘เอสโตเนีย’ สังคมดิจิทัลที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก

เพื่อขจัดความยากจน เอสโตเนียจึงใช้เทคโนโลยีและดิจิทัลเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาและยกระดับประเทศ จนล่าสุดเอสโตเนียกลายเป็น “สังคมดิจิทัลที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก” และเมืองหลวงอย่าง ‘ทาลลินน์’ ยังได้รับเลือกให้เป็น “ชุมชนอัจฉริยะแห่งปี 2020” ด้วย

8 ต้นแบบลานกีฬาวัฒนธรรมชุมชน ที่บ่งบอกอัตลักษณ์และเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนอย่างแท้จริง

‘พื้นที่สาธารณะ’ เปรียบเสมือนจิ๊กซอว์ของเมืองที่มาเติมเต็มคุณภาพชีวิตของผู้คนให้ดีขึ้น เพราะคนในเมืองควรมีพื้นที่อิสระในการใช้ชีวิต และจะดีขึ้นไปอีกหากพื้นที่เหล่านี้มาจากความต้องการของคนในพื้นที่ ให้พวกเขารู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่ง และคนทุกเพศทุกวัยสามารถเข้าถึงได้

‘Alzheimer Village’ อาณาจักรผู้ป่วยอัลไซเมอร์แห่งแรกในฝรั่งเศส

เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอัลไซเมอร์และสมองเสื่อม รัฐบาลฝรั่งเศสจึงลงทุนสร้างหมู่บ้านอัลไซเมอร์แห่งแรกของประเทศอย่าง “Alzheimer Village” เพื่อทำการศึกษาและหาทางรักษาโรคความจำเสื่อม รวมถึงสนับสนุนแนวคิดที่ว่าถ้าผู้ป่วยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม จะสามารถช่วยชะลอหรือบรรเทาการลุกลามของโรคอัลไซเมอร์ได้

เที่ยวภูเก็ตฉบับเจ้าถิ่น เมืองที่ไม่ได้มีดีแค่ทะเล

เรื่องราวประวัติศาสตร์ของภูเก็ตจากรากที่แท้จริงในมุมที่เราไม่เคยรู้มาก่อน จากปากของเจ้าถิ่นทำให้การท่องเที่ยวครั้งนี้ ไม่ใช่แค่การเดินถ่ายรูปสวยๆ แล้วจบ แต่ภายใต้ภาพสวยงามของสถาปัตยกรรม และสีสันที่สดใสของตึกรามบ้านช่อง ยังคงแฝงไปด้วยเรื่องราวมากมายที่รับรองว่าเป็นมุมที่หลายคนไม่เคยรู้มาก่อน

ถนน กทม. ดีพอให้เป็นทางรอดเมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือยัง

‘ถนน’ มีไว้ทำอะไร ? หน้าที่หลักของถนน คือ การเคลื่อนย้ายสิ่งหนึ่งไปอีกสิ่งหนึ่งให้ถึงจุดหมายที่ไม่ใช่เเค่รถวิ่งเท่านั้น เเต่ยังทำหน้าที่เป็นเส้นทางอพยพคนไปยังจุดปลอดภัยอีกด้วย

เมื่อไหร่กันที่ ‘สื่อไทย’ ไร้เสรีภาพ

เมื่อไหร่กันนะที่ ‘สื่อไทย’ ไร้เสรีภาพในการนำเสนอข่าวสาร ดังนั้นเราจึงพาย้อนรอยว่าตั้งแต่ประเทศไทยเปลี่ยนการปกครองจาก สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เพื่อหาว่า ‘สื่อไทย’ โดนปิดกั้นการนำเสนอไปมากน้อยแค่ไหน

จากพื้นที่ว่างสู่ลานกีฬาชุมชนศูนย์รวมใจของคน ‘บ้านแหลม’

จะดีไหม ? หากเรามีพื้นที่สาธารณะให้ทุกคนสามารถออกมาใช้งานร่วมกันอย่างไม่มีข้อจำกัดใดๆ ไม่ว่าจะออกกำลังกาย นั่งพักผ่อนหย่อนใจ พาลูกหลานมาเที่ยว จัดกิจกรรมกลางแจ้งร่วมกัน เพราะหลายครั้งที่พื้นที่ร้างกลายเป็นพื้นที่ซึ่งถูกปล่อยทิ้งร้างจนกลายเป็นปัญหาจากเล็กไปจนใหญ่ ทั้งจากมุมของผู้คนทั่วไปจนถึงคนในชุมชน

อัตลักษณ์ชุมชนท่าฉลอมสู่พื้นที่สาธารณะของทุกคน

หนุ่มท่าฉลอมหลงรักสาวมหาชัย ว่ายน้ำข้ามฝั่งไปมาหาสู่ เหล่านั้นคือบรรยากาศของปากแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณชุมชนท่าฉลอม ที่โอบล้อมไปด้วยท่าเรือ ชาวประมง และชุมชนจีน ซึ่งกลายเป็นเสน่ห์แห่งท่าฉลอมที่ทีมสถาปนิกจากสถาบันอาศรมศิลป์ใช้เป็นแรงบันดาลใจในการสร้าง ‘ลานกีฬาวัฒนธรรมชุมชน’ ร่วมกับชาวท่าฉลอม เพื่อสร้างพื้นที่สาธารณะที่ทุกคนมีส่วนร่วม

เมื่อชาวสถาปนิกชวนชุมชนมาร่วมสร้าง ‘ลานกีฬาวัฒนธรรมชุมชน’ พื้นที่ในฝันที่ทุกคนเป็นผู้ออกแบบ

การจะประกอบสร้างสังคมให้น่าอยู่นั้น สิ่งสำคัญคือต้องวางรากฐานให้ ‘คนและชุมชน’ มีความมั่นคงและแข็งแรง ผ่านการพัฒนาชุมชน และกระบวนการส่งเสริมความเป็นอยู่ของผู้คนให้ดีขึ้น โดยคนในชุมชนเป็นผู้ริเริ่มหรือให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน

1 26 27 28 29 30 45

SEND YOUR STORY

REQUEST INTERVIEW

ติดตามอ่าน “Urban Creature”
นิตยสารออนไลน์ที่จะทำให้คุณรักเมืองที่คุณอยู่ รักตัวเองมากขึ้นด้วยการเปิดมุมมองและนำเสนอแนวทางการใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต
Better Life. Better Living.

Max. file size: 256 MB.