ร้านยาสมุนไพรไทย ‘เจ้ากรมเป๋อ’ – หมอถวัลย์ สุวรรณเตมีย์

“ยาสมุนไพรไทยไม่มีพิษมีภัยถึงจะหายช้าหน่อย แต่ดีกว่ายาที่กินแล้วหายเร็วสุดท้ายต้องมารักษาไตทีหลัง”

ฟ้าหลังฝนของ ‘พิมพ์พาพ์’ นักวาดภาพประกอบที่บันทึกช่วงเวลา 30 วัน หลังพบก้อนมะเร็งในไดอารี่เด็กหน้าแมว

หากวันหนึ่งไปหาหมอแล้วพบว่า มีก้อนบางอย่างอยู่ในร่างกาย ไม่ว่าใครก็คงกังวลกับความเปลี่ยนแปลงที่จะตามมา หรือไม่ก็หูอื้อนึกอะไรไม่ออก แต่สิ่งนี้เกิดขึ้นกับเพื่อนสาวที่น่ารักสดใส ‘เจิ้ล’ หรือ แองเจิ้ล – ณัฐณิชา พิมพ์พาพ์ ในตอนนั้นเธออายุ 24 เพิ่งเรียนจบและกำลังเดินบนเส้นทางนักวาดภาพประกอบ โดยใช้นามสกุล ‘พิมพ์พาพ์’ เป็นนามปากกา

‘อาชีพหมอฉุกเฉิน’ ทุกนาทีเพื่อคนไข้ ความเป็นความตายที่ไม่มีโอกาสให้พลาด

หากมองอาชีพหมอฉุกเฉินในชีวิตจริงไม่อิงละคร รู้ไหมว่าหมอฉุกเฉินมีบทบาทหน้าที่อะไร และต้องแบกรับความท้าทายมากน้อยแค่ไหน

“เบื้องหลังความสำเร็จของ ‘เชฟอ๊อฟ’ แชมป์อันดับ 1 The Next Iron Chef Thailand 2019”

เมื่อไม่กี่วันก่อน รายการ ‘เชฟกระทะเหล็ก The Next Iron Chef Thailand 2019’ ก็โบกมือลาหน้าจอไปเรียบร้อยแล้ว และแชมป์ใหม่ป้ายแดง คือ ‘เชฟอ๊อฟ – ณัฐวุฒิ ธรรมพันธุ์’ ที่เบื้องหน้าเสมือนถูกโรยด้วยกลีบกุหลาบ แต่กว่าจะเดินทางมาถึงวันนี้ได้ รสชาติชีวิตของเชฟอ๊อฟที่ผ่านมาช่างมีหลากหลายรสซะเหลือเกิน จุดเริ่มต้นเชฟ ค่อยเป็นค่อยไป เริ่มต้นตั้งแต่ช่วงชีวิตในวัยเด็กหลายคนอาจจะได้อยู่กินข้าวกับครอบครัวบ่อยครั้ง แต่สำหรับเชฟอ๊อฟนั้นเมื่ออายุได้ 15 ปี จากที่ต้องอยู่กับครอบครัว แต่เขาต้องจากบ้านเพื่อไปเรียนและใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศกับครอบครัวคนอื่นแทน ช่วงนั้นเชฟอ๊อฟเป็นเด็กที่ค่อนข้างเกเร ใช้คำนี้คงไม่ผิดเท่าไหร่ และหากถามว่า ชอบทำอาหารเป็นทุนเดิมอยู่แล้วไหม ? เชฟอ๊อฟตอบกลับมาว่า เชฟอ๊อฟ : บอกตรงๆ ว่าไม่ใช่ครับ แม้ครอบครัวจะมีกิจการร้านอาหารอยู่แล้วก็ตาม แต่การไปอยู่ต่างแดนอาหารก็ไม่ค่อยถูกปากเป็นเรื่องธรรมดา เมื่อสถานการณ์พาไปจึงต้องลงมือทำอาหารเองบ้างบางเมนู และนั้นคงเป็นจุดเริ่มต้นของการทำอาหาร เมื่ออายุย่างเข้า 21 ปี ถือว่ากฎหมายอเมริกาอนุญาตให้ดื่มเหล้าได้แล้วเลยเกิดไอเดียอยากเปิดผับเล็กๆ กับเพื่อน จึงได้พื้นที่ในห้องใต้ดินร้านอาหารไทยแห่งหนึ่ง ช่วงชีวิตตอนนั้นระยะแรกเรียกว่าเฟื่องฟูแต่สุดท้ายก็ต้องปิดตัวลงแบบไม่สวยนัก เชฟอ๊อฟ : ตอนนั้นทำร้านและเรียนไปด้วย เราได้เงินเยอะมากๆ แต่ทำได้เพียง 7 เดือนก็ต้องปิดตัวลง […]

“คลองต้องดี เมืองถึงจะดี” ฟังวิธีฟื้นคลองให้กลับมาสำคัญอีกครั้งจาก ‘ธนบุรี มี คลอง’

สทนากับทีม ‘ธนบุรี มี คลอง’ ถึงความสำคัญของคลองกับเมือง และหนทางที่จะทำให้คลองอยู่คู่กับเมืองได้อย่างยั่งยืน

เปิดตำราวิชาพิพิธภัณฑ์ กับอาจารย์และนิสิตที่ผูกพันกับพิพิธภัณฑ์ไทย

คุยกับอาจารย์และนิสิตหลักสูตรการจัดการทางวัฒนธรรม กับประเด็นการเรียนหลักสูตรพิพิธภัณฑ์ และมุมมองต่อวงการพิพิธภัณฑ์ไทย

ไกด์วัยเกษียณ พาชมมิวเซียมได้อย่างเก๋าในวัยหกสิบยังแจ๋ว

ทุกครั้งที่ไปเที่ยวพิพิธภัณฑ์ เรามักได้ยินเสียงบอกเล่าเรื่องราวของงานที่จัดแสดงอยู่เสมอ นั่นคือเสียงที่เปล่งออกมาจาก ‘คนนำชมพิพิธภัณฑ์’ หรือเรียกว่า ‘มัคคุเทศก์’ ที่ตั้งใจ เต็มใจ และใส่ใจลงไปในทุกถ้อยคำที่กล่าวออกมา ซึ่งปกติมักจะเห็นคนนำชมตั้งแต่วัยเด็กประถม ไล่ระดับมาเรื่อยๆ จนถึงวัยทำงาน แต่ครั้งนี้ นับว่าเป็นโชคดีของเราไม่น้อย ที่ได้เดินเที่ยวพิพิธภัณฑ์ไปพร้อมกับ ไกด์วัยหกสิบกว่ายังแจ๋ว อย่าง ‘คุณพี่ซ้วง – สุมิตรา ชาคริยานุโยค’

‘ลุงอู๊ด’ บ้านครัวไหมไทย ผู้สืบทอดผ้าไหมผืนสุดท้ายของกรุงเทพฯ

ผืนผ้าไหมฝีมือช่างไทยเป็นมรดกตกทอดที่เชิดหน้าชูตาคนไทย โดยเฉพาะแถบภาคอีสานที่การทอผ้าในแต่ละท้องถิ่น มีลวดลายเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ในกรุงเทพฯ เราคงไม่เห็นคนทอผ้าไหมกันเท่าไรนัก แต่ย่านใจกลางเมืองอย่างราชเทวี กลับซุกซ่อนชุมชน ‘บ้านครัว’ ที่ในอดีตเคยย้อมไหมทอผ้ากันแทบทุกบ้าน เป็นจุดเริ่มต้นของผ้าไหม ‘จิม ทอมป์สัน’ แต่ปัจจุบันเหลือเพียง ‘ลุงอู๊ด’ เท่านั้นที่ยังคงสืบทอดภูมิปัญญาผ้าไหมของกรุงเทพฯ

โทน บางแค – คุณโทนทอง สุขแก่น ธุรกิจพระเครื่อง

“20 กว่าปีที่อยู่ในวงการ ผมจะไม่เอาความผิดพลาดของตัวเองไปยัดเยียดให้ลูกค้า เพราะลูกค้าเงินเขาแท้เขาต้องได้พระแท้”

เจ้าขุนทอง ตำนานรายการเด็ก เสียงเล็กๆ ที่ไม่หยุดขับขานเรื่องภาษาและสังคมไทย

คุยกับ อ้าว-เกียรติสุดา ภิรมย์ ผู้ก่อตั้งรายการเด็กระดับตำนาน และคณะหุ่นเจ้าขุนทองที่ยังคงยืนหยัดผลิตสิ่งดีๆ เพื่อ ‘เด็ก’ และ ‘สังคมไทย’

ถึงเวลากู้โลกด้วย ‘พลังงานหมุนเวียน’ กับ ‘ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล’

เมื่อพลังงานหมุนเวียนไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป แต่กลับใกล้จนต้องทำความรู้จักให้รู้ใจกันมากขึ้นกับ ‘ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล’

‘Facetook’ โลกคู่ขนาน Facebook พื้นที่ระบายทุกข์เพื่อเพิ่มสุขให้ชีวิต

ชวน ‘พี่เม้ง – ประสิทธิ์วิทยสัมฤทธิ์’ และ ‘พี่บอมบ์ – ปัณณวิชณ์แซ่โง้ว’ แห่ง ‘ชูใจกะกัลยาณมิตร’ กลุ่มครีเอทีฟเอเจนซีผู้สร้าง ‘Facetook (เฟซทุกข์)’ มานั่งสนทนาถึงที่มาที่ไปของเฟซทุกข์ และมุมทุกข์สุขในชีวิต

1 22 23 24 25 26 31

SEND YOUR STORY

REQUEST INTERVIEW

ติดตามอ่าน “Urban Creature”
นิตยสารออนไลน์ที่จะทำให้คุณรักเมืองที่คุณอยู่ รักตัวเองมากขึ้นด้วยการเปิดมุมมองและนำเสนอแนวทางการใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต
Better Life. Better Living.

Max. file size: 256 MB.