‘ทะเลสาบอินเล’ วิถีแปลงเกษตรลอยน้ำฉบับเมียนมาร์

เกษตรกรที่ ‘อินเล’ ทะเลสาบในประเทศเพื่อนบ้านอย่าง ‘เมียนมาร์’ ใช้ชีวิตด้วย ‘วิถีแปลงเกษตรลอยน้ำ’ ซึ่งนับเป็นแหล่งปลูกมะเขือเทศที่ใหญ่ที่สุดในเมียนมาร์เลยทีเดียว ทั้งยังมี ‘ชนเผ่าอินตา’ ที่ใช้ชีวิตอยู่คู่สายน้ำมากว่าพันปี ที่ขึ้นชื่อเรื่อง “มือไม่พาย เอาเท้า ‘พาย’ น้ำ” อย่างแท้จริง !

ตาย เพราะโบกธงสีรุ้งในคอนเสิร์ต อะไรคือความเท่าเทียมทางเพศในอิยิปต์ ?

ซาร่า เฮกาซี่ (Sarah Hegazi) คือนักเคลื่อนไหวชาวอียิปต์ ที่ถูกจับเพียงเพราะเธอโบกธงสีรุ้งในคอนเสิร์ต เพื่อแสดงความภาคภูมิใจแห่ง LGBTQ+ แต่การอยู่ในประเทศซึ่งยังไม่ยอมรับในความหลากหลายทางเพศ ทำให้เธอถูกขุมขังในคุกเป็นเวลาหลายเดือน ถูกทารุณ และสุดท้ายเธอตัดสินใจจบชีวิตในวันที่ 13 มิถุนายน 2563 เพราะทนกับสิ่งที่ต้องเผชิญไม่ไหวอีกต่อไป

‘สตรีทฟู้ดไทย’ ทำอย่างไรจะทวงแชมป์ที่หนึ่งของโลก ?

คุณคือคนหนึ่งที่เผชิญกับรถติดเป็นประจำ เคยไหมที่มองผ่านกระจกรถไปเจอ ‘รถเข็นขายอาหาร’ ริมฟุตบาทแล้วเกิดอาการหิว หรือเมื่อไหร่ที่เดินเท้าแล้วอดใจไม่ไหวต้องแวะ ‘ร้านข้างทาง’ ด้วยหน้าตาและกลิ่นสุดยั่วกระเพาะ

บุก 10 เมืองใหญ่ ที่มีพื้นที่สีเขียวมากที่สุดในโลก

รู้หรือไม่ ? ’พื้นที่สีเขียว’ ถือเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัดความอยู่ดีมีสุขของคนเมือง สอดคล้องกับงานวิจัยหลายฉบับที่บอกว่า การอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีพื้นที่สีเขียว จะทำให้คนมีความสุข ลดอาการซึมเศร้า และส่งผลให้อัตราการเกิดอาชญากรรมลดลงกว่า 50%

‘ไถจง’ เมืองที่ออกแบบให้คนใช้ชีวิตนอกบ้าน

ไถจง (台中) คือเมืองแห่งอุตสาหกรรมและศูนย์กลางเศรษฐกิจอันดับสามของเกาะไต้หวัน ตั้งอยู่ภาคกลางของเกาะ และเป็นที่ที่หากใครจะไปเที่ยว Sun Moon Lake ทะเลสาบสีมรกตสุดฮิตก็ต้องมาแวะที่นี่ก่อน แต่ถ้าได้ใช้เวลาทำความรู้จักไถจงเพิ่มสักวันสองวัน เดินเล่นในย่านใจกลางเมืองและแวะดูพื้นที่สร้างสรรค์ (Creative Spaces) ที่ตั้งใจออกแบบมาเพื่อให้ทุกคนออกมาใช้ชีวิตในพื้นที่สาธารณะกันแล้ว จะพบว่าไถจงเป็นอีกเมืองหนึ่งที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวาให้เราได้เก็บแรงบันดาลใจกลับไปเต็มกระบุง

‘แยกกันอยู่ หรืออยู่ด้วยกัน’ ออกแบบให้คน ธรรมชาติ และเมืองอยู่ร่วมกัน ทำได้อย่างไร ?

บริษัทภูมิสถาปนิกในประเทศสวิสเซอร์แลนด์จึงถ่ายทอดแนวคิดสร้างพื้นที่ว่างจากการปูคอนกรีตบนพื้นให้มีระยะห่าง เพื่อให้ต้นไม้ได้ยืดราก เหยียดลำต้นอย่างเต็มที่ และกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง

‘รถยนต์ไฟฟ้า’ เร็ว ประหยัด ไม่ปล่อยควัน แต่คนไทยจะได้ใช้ไหม ?

ไวรัส COVID-19 อาจมีหนทางหาย แต่ฝุ่นควันบนถนน PM 2.5 อาจจะอยู่กับเราไปอีกนาน แล้วถ้าเราส่วนใหญ่เปลี่ยนมาใช้ ‘รถยนต์ไฟฟ้า’ เพื่อลดปัญหาฝุ่นในไทยจะเป็นไปได้หรือไม่ ?

โลกศิลเปรอะ

เราสงสัยจังว่า เศษเสี้ยวของศิลปะขยะกองโตนี้ เคยจัดแสดงอยู่ที่ไหน ก่อนเดินทางมารวมตัวเป็น ‘ประติมากรรมขยะ’ ชิ้นมาสเตอร์พีซ

ถนนคนเดิน กลายเป็นของรถยนต์ตั้งแต่เมื่อไหร่?

รู้หรือไม่ว่า ? เมื่อ 100 ปีที่แล้ว มีคำว่า ‘Jaywalker’ ไว้เปรียบเทียบคนข้ามถนนอย่างผิดกฎหมาย ว่าเหมือนคนบ้านนอกเข้ากรุงที่ไม่รู้ว่าจะต้องเดินในเมืองอย่างไรให้ปลอดภัย ซึ่งเมื่อก่อน ‘ถนน’ เป็นพื้นที่สาธารณะสำหรับผู้คน ทั้งการตั้งหาบเร่ค้าขาย หรือการเดินเตร็ดเตร่ รวมถึงรถลากที่ผ่านไปมา จนเรียกได้ว่า ‘คน’ เป็นเจ้าของถนนมากกว่าปัจจุบัน เพราะ ‘ยานพาหนะต้องระวังคน ไม่ใช่คนต้องระวังยานพาหนะ’ ผิดกับตอนนี้ที่เราต้องหันซ้าย-ขวา เพื่อมองรถ และยังต้องข้ามถนนในที่ทางที่วางไว้
.
แล้วอะไรคือสาเหตุที่ทำให้ ‘รถ’ กับ ‘คน’ ต้องแยกทางกันอย่างชัดเจน ?

1 29 30 31 32 33 45

SEND YOUR STORY

REQUEST INTERVIEW

ติดตามอ่าน “Urban Creature”
นิตยสารออนไลน์ที่จะทำให้คุณรักเมืองที่คุณอยู่ รักตัวเองมากขึ้นด้วยการเปิดมุมมองและนำเสนอแนวทางการใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต
Better Life. Better Living.

Max. file size: 256 MB.