‘สู้ๆ นะ เธอทำได้’ ปลอบใจอย่างไรให้คนฟังไม่ท้อและคนพูดดูไม่เฟก

หากเราอยากปลอบใจใครสักคน เมื่อคนพูดอยากจะแสดงความห่วงใยแต่จะทำอย่างไรให้คนฟังรู้สึกไม่ท้อ เราจึงขอคำปรึกษาจาก ‘แพทย์หญิงชัชชญา เพียรจงกล’ จิตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญการให้คำปรึกษาปัญหาด้านจิตใจจาก ooca แพลตฟอร์มปรึกษาจิตแพทย์และนักจิตวิทยาออนไลน์ที่จะช่วยแนะนำวิธีปลอบใจที่คนฟังและคนพูดรู้สึกดี

40 วันกับชีวิตล็อกดาวน์ในเขตพื้นที่เสี่ยง มหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร

บทความนี้เปรียบเสมือนบันทึกช่วงเวลาที่เราต้องอยู่บ้านเป็นเวลา 40 วัน ระหว่างการระบาดของโควิด-19 ท่ามกลางเขตพื้นที่เสี่ยงอย่างจังหวัดสมุทรสาคร สำหรับเรา การใช้ชีวิตรูปแบบใหม่อาจจะยุ่งยากไปบ้าง แต่สำหรับพ่อค้าแม่ค้าแผงลอยในตลาดที่ได้รับผลกระทบ เพราะไม่มีคนมาจับจ่ายซื้อของเหมือนที่เคย พวกเขาต้องขาดรายได้จุนเจือครอบครัวและจำเป็นต้องกู้หนี้ยืมสิน ร้านแผงลอยบางรายต้องปรับวิธีการขายเป็นแผงลอยเคลื่อนที่เพื่อให้รอดจากวิกฤติครั้งนี้ไปได้

ค้นหาทางออกเพื่อให้เรารอดจากขยะพลาสติก ผ่านการนำขยะมาทำเป็นธุรกิจ | City Survive EP.1

“สำหรับปัญหาขยะพลาสติก หากเราไม่ได้จัดการหรือร่วมมือกันแก้ไขทุกฝ่ายอย่างเป็นระบบ ทุกฝ่ายยังทำแบบที่ทำกันอยู่ ใน ค.ศ. 2050 คาดการณ์ว่าจะมีขยะพลาสติกมากกว่าปลาในทะเล” นี้คือหนึ่งในบทสัมภาษณ์จากสารคดี City Survive ทางรอดขยะพลาสติก ผ่านธุรกิจขยะ City Survive รายการสารคดีที่ว่าด้วยเรื่องการแก้ปัญหาเมืองอย่างสร้างสรรค์ ในตอนแรกนี้เราจึงหยิบยกปัญหาขยะพลาสติกขึ้นมาบอกเล่าและตีแผ่ถึงปัญหา และร่วมหาทางรอดไปพร้อมกัน กับหนึ่งทางออกอย่างสร้างสรรค์คือการนำขยะเหล่านี้มาทำเป็นธุรกิจ ให้ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ร่วมกัน มนุษย์ได้ ภาคธุรกิจได้ โลกได้ สิ่งแวดล้อมได้ และความยั่งยืนได้ รวมไปถึงคำถามที่ว่าพลาสติกนั้นผิดจริงๆ หรือหากไม่มีผิดถูกเราจะอยู่ร่วมกับพลาสติกอย่างไรให้ทั้งเราและโลกไปต่อได้ หลายคำตอบรวมอยู่ในสารคดีทางรอดขยะพลาสติก ผ่านธุรกิจขยะนี้

‘ซองโด’ เมืองอัจฉริยะที่ตั้งเป้าลดคาร์บอนฯ ให้เป็นศูนย์

เกาหลีใต้ไม่ได้มีดีแค่โซล แทกู หรือปูซาน แต่ยังมีเมืองใหม่ที่น่าสนใจอย่าง ‘ซองโด’ เมืองที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจ อสังหาริมทรัพย์ ควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในเมืองนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

EAT

ฟังเรื่องเล่าการ ‘กินหมาก’ ผ่านร้านขายหมากพลูเจ้าสุดท้ายในย่านตลาดพลู

คอลัมน์ล่าถึงถิ่นในครั้งนี้จึงพาทุกคนมานั่งฟังเรื่องราว ‘การกินหมาก’ จาก ‘พี่จอย-พรทิพย์ จิรชาติธนวัฒน์’ เจ้าของร้านขายหมากพลูเจ้าสุดท้ายในตลาดวัดกลาง

คืนชีวิตให้คนเมืองด้วยการมี ‘ทางเท้าที่ดี’

ถ้าให้ขอของขวัญปีใหม่ได้หนึ่งอย่างจากรัฐบาลคุณอยากขออะไร…วัคซีนโควิด-19 ระบบขนส่งสาธารณะที่ได้มาตรฐาน สวัสดิการที่ครอบคลุม หรือพื้นที่สีเขียวที่มากขึ้น สำหรับเรา อยากคืนชีวิตให้คนเมืองด้วยการมี ‘ทางเท้าที่ดี’

‘สะพานลอย’ แก้ปัญหาจราจรและความปลอดภัยจริงหรือไม่

สะพานสูงทรงแคบๆ ที่สร้างคร่อมขวางถนนให้คนเดินข้ามไปข้ามมา สิ่งก่อสร้างนี้เราเรียกว่า ‘สะพานลอย’ UrbanTales ครั้งนี้จะพาผู้อ่านนั่งไทม์แมชชีนไปดูว่า สะพานลอยเครื่องมือแก้ปัญหาจราจรและความปลอดภัยของไทยเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อไหร่กัน

EAT

ตามกลิ่น ‘หญ้าฝรั่น’ เครื่องเทศกลิ่นหอมในข้าวหมกแพะ

“ทุกคนรู้จัก ‘หญ้าฝรั่น (ฝะ-หรั่น)’ กันไหม” เครื่องเทศเส้นเรียวเล็ก มีสีแดงสดไปจนถึงเข้ม บรรจุอยู่ในซองเล็กๆ ประมาณ 1 กรัม แต่มีกลิ่นหอมรัญจวนไม่เหมือนใคร และไม่มีใครอธิบายได้ ! ซึ่งมาพร้อมกับราคาที่สูงลิบลิ่วตกกิโลกรัมละ 100,000 บาท ! เรียกว่ากลิ่น ‘แรง’ และราคา ‘แพง’ ก็ว่าได้ ช่วงสายของเช้าวันหนึ่ง ฉันยืนหยุดอยู่หน้าร้าน ‘สุวรรณเครื่องเทศ’ ปากซอยเจริญกรุง 42 ที่ด้านข้างเป็นร้าน ‘หมกแพะพิเศษ’ ซึ่งเลื่องลือในเรื่องรสชาติมาหลายสิบปี พ่วงด้วยความสงสัยในใจว่ากลิ่นของ ‘หญ้าฝรั่น’ จะเป็นอย่างไร เพราะไม่ว่าใครต่อใครที่เคยได้กลิ่นต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า “มันยากที่จะอธิบายออกมาเป็นคำพูด” เพราะฉะนั้นฉันจึงไม่รอช้าที่จะลองสูดกลิ่นหอมของหญ้าฝรั่นด้วยตัวเอง ! ทันทีที่ก้าวเท้าเข้าร้านก็เหมือนหลุดมายังอีกโลกหนึ่ง เพราะกลิ่นของเครื่องเทศกว่า 40 ชนิด หอมอบอวลไปทั่วชั้นหนึ่งของร้านสุวรรณเครื่องเทศ ผิดกับกลิ่นควันรถ และกลิ่นอาหารจากภายนอก เมื่อฉันเหลือบมองไปทางขวาจะเห็นเครื่องเทศวางเรียงรายในถาดไม้อย่างเป็นระเบียบ พร้อมกับสินค้าประเภทอื่นๆ ในตู้กระจก  หลังจากเข้าร้านมาไม่นานต่อมรับกลิ่นของฉันเริ่มทำงานทันที จมูกฟุดฟิดเพื่อตามหาต้นตอของกลิ่นต่างๆ ที่ประดังประเดมาไม่ขาดสาย ก่อนจะทักทาย ‘พี่ภูวนาถ ธีรลักษณ์’ ทายาทรุ่น 3 […]

‘เดปอถู่’ แบรนด์ผ้าทอชาวปกาเกอะญอ ที่สานด้วยพลังชุมชนช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต

ชวนขึ้นเขาไปจังหวัดเชียงใหม่ ชมแบรนด์ผ้าทอลายสวย ‘เดปอถู่’ จากฝืมือชาวปกาเกอะญอ ที่ทำด้วยมืออย่างละเอียดลออ ความพิเศษของผ้าแต่ละผืนมีความหมายมากกว่าเป็นสินค้าพื้นถิ่น เพราะทักถอด้วยเรื่องราวมากมายที่สร้างคุณค่าและช่วยเหลือชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตามไปส่องเบื้องหลังของผ้าทอแบรนด์เดปอถู่ ว่าจะช่วยเปลี่ยนชีวิตชุมชนให้ดีขึ้นได้อย่างไร ? ต้องลองไปติดตามกัน !

สัมผัสเมืองโตเกียว ผ่านบันไดวนรอบโรงแรม Siro

เพราะอยากให้แขกที่เข้าพักโรงแรมได้สัมผัสกับเสน่ห์ของวิถีชีวิตแบบเก่าใหม่ วัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ รวมถึงประวัติศาสตร์และอุตสาหกรรมที่เจริญรุ่งเรืองของโตเกียว สตูดิโอสถาปนิก “Mount Fuji” จึงได้ออกแบบด้านหน้าโรงแรม “Siro” ให้เป็นบันไดที่เชื่อมคนและเมืองให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

“ผู้หญิงมีสิทธิ์พูดเรื่องเซ็กซ์” กับ Pomme Chan นักวาดที่เชื่อว่าเซ็กซ์ไม่ใช่เรื่องน่าอาย

“ผญมีสิทธิ์พูดเรื่องเซ็กส์” กับ พี่ปอม-ธัชมาพรรณ จันทร์จำรัสแสง หรือ Pomme Chan นักวาดภาพประกอบหญิงที่ชวนถกเรื่องเพศที่ผู้หญิง ผู้ชาย และ LGBTQ+ ถูกกดทับมาตลอดตั้งแต่ครอบครัว สถาบันการศึกษา ที่ทำงาน และวาทกรรมในสังคม เพราะไม่ว่าเพศไหนก็มีสิทธิ์พูดเรื่องเซ็กส์ได้เท่ากัน

ความสุขเล็กๆ ในบ้านที่ ‘สมาร์ทโฟน’ ช่วยสร้าง

ความสุข เทคโนโลยี และบ้าน แน่นอนว่าสามสิ่งนี้ต้องได้รับการออกแบบให้พึ่งพากันอย่างสมดุล เราจึงไปคุยกับ ‘คุณดิว-สุดารัตน์ เจริญเกตุมงคล’ หัวหน้าสายงาน บริหารธุรกิจและการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนของบริษัท SC Asset ถึงการใช้เทคโนโลยีผสมผสานการออกแบบบ้าน เพื่อเพิ่มความสุขให้คนในบ้านอย่างทวีคูณ

1 2

SEND YOUR STORY

REQUEST INTERVIEW

ติดตามอ่าน “Urban Creature”
นิตยสารออนไลน์ที่จะทำให้คุณรักเมืองที่คุณอยู่ รักตัวเองมากขึ้นด้วยการเปิดมุมมองและนำเสนอแนวทางการใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต
Better Life. Better Living.

Max. file size: 256 MB.