PEOPLE
ฟังเสียง ‘คนตัวเล็ก’ ไปจนถึง ‘คนตัวใหญ่’ ที่จะมาถ่ายทอดแนวคิด มุมมอง รวมถึงแรงบันดาลใจ เพื่อสะท้อนสังคมที่มีความหลากหลาย เพราะเสียงของทุกคนล้วนสำคัญ
ลดช่องว่างระหว่างวัยกับ ‘มนุษย์ต่างวัย’ เพจที่ชวนคนทุกวัยใช้ใจผสานความห่างให้กลายเป็นศูนย์
มนุษย์ต่างวัย คือเพจที่ตั้งใจถ่ายทอดเรื่องราวของคนสูงวัยให้ทุกคนเข้าใจ เราจึงชวน ‘ประสาน อิงคนันท์’ ผู้ริเริ่มความคิดนี้มาพูดคุยถึงการทำงานด้านผู้สูงอายุ และค้นหาคำตอบของการอยู่ร่วมกันในรูปแบบที่ต่างวัยแต่ไม่ต่างใจ
กินอาหารทะเลอย่างไม่ทำลายนิเวศ ‘ปลาออร์แกนิก’ ร้าน จำหน่ายอาหารทะเลจากประมงอนุรักษ์วิถี
‘ปลาออร์แกนิก’ คือร้านจำหน่ายวัตถุดิบสดใหม่มาจากทะเล โดยฝีมือชาวประมงวิถีอนุรักษ์แห่งน่านน้ำไทย เสิร์ฟอารหารทะเล คุณภาพดีให้คนเมือง ควบคู่ไปกับการเปิดพื้นที่ให้ชาวประมงพื้นบ้านได้มีโอกาสขายวัตถุดิบอย่างไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง
ZAAP กับการเผชิญ COVID-19 ของคนอีเวนต์
บาส-เทพวรรณ คณินวรพันธุ์ CEO และผู้ก่อตั้ง ZAAP ออร์แกไนเซอร์แถวหน้าของไทยที่ผ่านงานใหญ่ๆ มามากมาย ไม่ว่าจะเป็น Single Festival, Waterzonic, G19, S2O, บางกอก FEST ฯลฯ ในวันที่อุตสาหกรรมอีเวนต์ต้องเผชิญกับวิกฤต COVID-19 ทำให้งานต่างๆ ถูกยกเลิกทั้งหมด ZAAP ต้องปรับตัวตามสิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งการทำงาน วิธีการคิด และเป้าหมายของทีมในระยะสั้น สำหรับ บาส-เทพวรรณ ในฐานะ CEO วัย 29 ปี สิ่งสำคัญที่ต้องมีคือการยอมรับความจริงกับปัญหาที่เกิดขึ้น และสร้างความเชื่อมั่นให้ทีมว่าเราจะต้องผ่านวิกฤตนี้ไปด้วยกันให้ได้ “ความยากที่สุดของคนทำอีเวนต์ คือไม่รู้ว่าวิกฤตนี้มันจะจบเมื่อไหร่” ในวันที่วงการอีเวนต์ต้องเผชิญกับวิกฤต COVID-19 ที่เป็นเสมือนพายุคลื่นลูกใหญ่ จนทำให้เหล่าวัยรุ่นไม่ได้ออกไปสนุกสุดเหวี่ยงที่ไหน ซึ่งถือเป็นฤกษ์ไม่งามยามไม่ดี แต่เป็นโอกาสที่ทำให้เราได้คุยกับ พี่บาส-เทพวรรณ คณินวรพันธุ์ แห่ง ZAAP ถึงเบื้องหลังคนทำอีเวนต์ และการปรับตัวท่ามกลางสถานการณ์ที่ไม่สู้ดีนัก หลายคนคงรู้จักพี่บาสในฐานะปาร์ตี้บอยชื่อดังที่เคยผิดหวังจากการจัดอีเวนต์ครั้งแรกเมื่อสมัยที่เขาเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตอนนั้นเขาได้เป็นทูตของมหาวิทยาลัย และได้มีโอกาสจัดงานการกุศลเพื่อช่วยเหลือปัญหาน้ำท่วมใหญ่ แต่ดูเหมือนโชคจะไม่เข้าข้าง เพราะจากการจัดงานในครั้งนั้น ทำให้เขาต้องมีหนี้ติดตัวเกือบล้านบาท เขาใช้การจัดปาร์ตี้เพื่อลบล้างหนี้ที่เกิดขึ้น […]
‘เอซ-ธนบูรณ์’ คนต้นคิด ‘Greenery’ เพื่อนคู่คิดการกินดี และถนอมโลกอย่างยั่งยืน
Greenery คอมมูนิตี้ที่อยากเห็นสังคมตระหนักถึงความสำคัญของอาหารปลอดภัย และการบริโภคอย่างยั่งยืน
“คิดบวกและส่งกำลังใจให้กัน” สิ่งที่ฉันได้เรียนรู้จากชีวิต Lock Down ในมิลาน
เปิดไดอารีของสาวไทยในเมืองมิลานในช่วง COVID-19 ที่บอกเล่าเรื่องราวตั้งแต่ลักษณะนิสัยของชาวอิตาลี ชีวิตความเป็นอยู่ในเมืองที่ถูกล็อคดาวน์ รวมถึงการกักตัวให้อยู่รอดปลอดภัย พร้อมวิธีการคิดบวกในแบบฉบับของเธอกัน
‘Freshket’ ตลาดสดออนไลน์ที่พยุงเกษตรกร ผู้บริโภค และธุรกิจให้รอดจากโควิด-19 ไปพร้อมกัน
Freshket’ ตลาดสดออนไลน์ที่มีบริการจัดส่งวัตถุดิบคุณภาพดีจากเกษตรกร มีทั้งของสดและของแห้งให้ถึงร้านอาหาร อีกทั้งในช่วงโควิด-19 ระบาด Freshket ยังเปิดให้ผู้บริโภคทั่วไปสั่งได้เช่นกัน โดยเริ่มต้นเพียง 499 บาท พร้อมบริการส่งฟรีทั่วกรุงเทพฯ
‘Locall’ เดลิเวอรี่ช่วยชุมชน ส่งความอร่อยย่านประตูผี-เสาชิงช้าถึงมือคุณ
คงเป็นเวลาที่ใครๆ ต่างต้องปรับตัว เพื่อหาทางอยู่รอดในสถานการณ์ไวรัสระบาดที่ไร้วี่แววจะคลี่คลายเร็ววัน โดยเฉพาะ ‘ร้านอาหาร’ ซึ่งเป็นสิ่งที่คนต้องบริโภคอยู่เป็นประจำ กลับซบเซาไม่แพ้ธุรกิจอื่นๆ เลย บ้างก็ยอมลดจำนวนพนักงาน บ้างก็เปลี่ยนจากการ ‘ขายหน้าร้าน’ มาเป็น ‘ออนไลน์’ แทน แต่ไม่ใช่กับทุกคนที่จะปรับตัวเป็นระบบออนไลน์ มาพร้อมจัดส่งได้ทันที ทำให้ ‘Locall (โล-คอล)’ แพลตฟอร์มส่งอาหารได้ถือกำเนิดขึ้น เพื่ออาสาเป็น ‘ตัวกลาง’ ระหว่างลูกค้า และชุมชนประตูผี-เสาชิงช้า ที่กำลังประสบปัญหาให้ ‘อยู่รอด’ ต่อไปได้
Craft it on แบรนด์คราฟต์จากของเหลือใช้ของ อร อรสา ผู้เปลี่ยนโลกหลังเกษียณให้เด็กลง
แบรนด์สุดคราฟต์ของ แม่อร-อรสา วัย 62 ปี ที่หยิบจับสิ่งของเหลือใช้รอบตัวมาเย็บปักถักร้อยจนกลายเป็นสินค้าแสนอบอุ่น
ต่อสายตรงหา ‘บอลพาเที่ยว’ ผู้ติดอยู่เนปาลเกือบเดือนเพราะโควิด-19
เมื่อครั้งหนึ่งในชีวิตของ ‘บอล-นเรศร นันทสุทธิวารี’ แบ็คแพ็คเกอร์จากเพจ ‘บอลพาเที่ยว’ ที่หิ้วกระเป๋าอยาก ไปพิชิตเส้นทางในเนปาล แต่กลับต้องจบทริปกระทันหัน เพราะการประกาศล็อคดาวน์ของประเทศเนปาล เพื่อ ยับยั้งไวรัสโควิด-19 ให้อยู่หมัด ทำให้สถานะ ‘นักท่องเที่ยว’ ของบอล ต้องกลายเป็นผู้ติดค้างอยู่ในเมืองกาฐ มาณฑุ ทันที !
‘พระพยอม กัลยาโณ’ กับบทบาทของวัดในวันที่ไวรัสระบาด
ในวันที่ทุกคนได้รับผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโควิด-19 แน่นอนว่ารวมถึงศาสนสถานของศาสนาพุทธอย่าง ‘วัด’ ก็ไม่ต่างกัน ดังนั้นเราจึงต่อสายโทรศัพท์หา ‘พระพยอม กัลยาโณ’ ท่านเจ้าอาวาสวัดสวนแก้ว ว่าตอนนี้วัดได้รับผลกระทบอะไรบ้าง มีมาตรการป้องกันอย่างไร ไปจนถึงบทบาทของวัดซึ่งได้ชื่อว่าเป็นที่พึ่งแก่คนตกทุกข์ได้ยากว่าในวันที่ไวรัสระบาดมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร
#freemuay ปลดแอก ‘หมวย’ นักสิ่งแวดล้อมชาวลาว ที่ติดคุกเพราะวิจารณ์รัฐกรณีเขื่อนแตก
“หมวย” นักสิ่งแวดล้อมชาวลาวที่กล้ายืนหยัดต่อสู้กับความไม่เป็นธรรมจาก การวิจารณ์การทำงานของรัฐบาลลาว กรณีเขื่อนเซเปียน-เซน้ำน้อยแตก ความกล้าหาญของหมวยที่พูดแทนความรู้สึกของประชาชน แสดงถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยอย่างแท้จริง แต่เธอกลับถูกจับกุม และตัดสินให้จำคุกเป็นเวลากว่า 5 ปี จนขณะนี้เกิดแฮชแท็ก #freemuay ที่นักสิ่งแวดล้อม นักวิชาการ นักสิทธิมนุษยชนทั่วโลกรวมตัวทวงคืนสิทธิของหมวย
‘เห็นใจ’ จนลืมมองปัญหาใต้พรม
ความเห็นใจ คือคุณสมบัติที่มนุษย์ทุกคนควรมี ทุกคนถูกสอนมาแบบนั้นกันใช่หรือเปล่า ? แต่รู้หรือเปล่าว่าบางทีความเห็นใจกลายเป็นช่องว่างให้บางคนเห็นแก้ตัว และใช้ความเห็นใจปกปิดปัญหาใต้พรม