ถนนพระรามที่ 4 นี่นี้ใครครอง

ในขณะที่เมืองขยายตัวเพิ่มมากขึ้น “ถนนพระรามที่ 4” นอกจากเป็นหนึ่งในถนนที่ขึ้นชื่อเรื่องรถติดแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ แล้ว ถนนเส้นนี้ก็กำลังเป็นที่หมายตาและจับจองโดยนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ด้วยยังพอมีพื้นที่ว่าง อีกทั้งไม่ไกลจากย่านใจกลางเมืองด้วย

‘สื่อสิ่งพิมพ์’ อยู่หรือไป ใครกำหนด ?

ในช่วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา จะเห็นว่ามีสำนักพิมพ์หรือนิตยสารต่างๆ ทยอยโบกมืออำลาตามกันไป เช่น ‘Go Genius’ นิตยสารวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กในเครือสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ‘ครัว’ นิตยสารสำหรับคนทำอาหาร หรือจะเป็นนิตยสาร ‘ดิฉัน’ ‘ขวัญเรือน’ และ ‘คู่สร้างคู่สม’ ที่อยู่คู่คนไทยมาหลาย 10 ปี

ครึ่งปีผ่านไป เกิดอะไรกับธรรมชาติบ้าง ?

ในที่สุดเราก็เดินมาถึงครึ่งทางของปี 2020 ตลอด 7 เดือนที่ผ่านมาเชื่อว่าหลายคนคงผ่านอะไรมามากมาย โดยเฉพาะผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 นอกจากมนุษย์แล้วเรามาดูกันว่าตลอด 7 เดือนที่ผ่านมา ‘ธรรมชาติ’ อย่างสัตว์น้อยใหญ่ หรือต้นไม้นานาชนิด รวมถึงดิน น้ำ และอากาศ เกิดการเปลี่ยนแปลงดีร้ายอะไรขึ้นบ้าง

‘ค่าไฟแพง’ ขอแรงลดค่าไฟ

ประเด็นร้อนไม่แพ้อุณหภูมิเดือนเมษายน คงหนีไม้พ้นค่าไฟแพงทะลุมิเตอร์ จนพี่น้องประชาชนแคลงใจว่า ตัวเลขในบิลที่พุ่งกระฉูดนั้นมาจากไหน ?

เตรียมตัวสูงวัย แบบชีวิตดี๊ดี

ยุคสมัยเปลี่ยนไป คนสูงวัยกลายเป็นคนทันสมัยรู้จักใช้โซเชียลมีเดีย เราเห็นเหล่าพ่อๆ แม่ๆ ใช้ชีวิตกันสนุกสนาน ต่างจากสมัยก่อนที่มีทัศนคติว่าคนแก่ต้องอยู่บ้านเลี้ยงหลาน จะเดินเหินไปไหนมาไหนก็ลำบาก มายุคนี้อายุเป็นเพียงตัวเลข เราจึงชวนทุกคนมาโฟกัสเรื่อง ‘สูงวัย’ ซึ่งมีแง่มุมหลากหลายไม่ได้ชวนเหี่ยวเฉาอย่างใครๆ คิด และมีอีกหลายสิ่งที่ผู้สูงวัยสามารถทำได้ไม่แพ้คนหนุ่มสาว

เสาไฟไทย ทำไมเป็นงี้ ?

พาไปตามหาคำตอบชวนสงสัยกับ เสาไฟฟ้าและสายไฟฟ้าเพื่อนรักเจ้าปัญหาตั้งแต่จุดเริ่มต้น การวางสายไฟในแต่ละเส้น จนถึงการพัฒนาที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตให้หายข้องใจกัน

Bangkok Sewer : ท่อ (รอ) ระบายน้ำ

จากปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีน้ำท่วมกระจายอยู่ทั่วพื้นที่ และการระบายน้ำก็เป็นไปอย่างล่าช้า คนไทยต้องตกอยู่ในความลำบาก ทั้งเรื่องอาหารการกิน, ที่อยู่อาศัย, การเกษตร, อุตสาหกรรม และเศรษฐกิจ ได้รับความเสียหาย หลายครั้งถึงขึ้นเกิดอุทกภัยที่รุนแรง หนึ่งสาเหตุสำคัญที่ทำให้น้ำท่วมกรุงเทพฯ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ ก็คือ “ปัญหาการระบายน้ำในพื้นที่กรุงเทพฯ” นั่นเอง

Universal Design การออกแบบที่ใส่ใจทุกคน

คำที่ขึ้นมาเป็นเทรนด์ในตอนนี้ คงหนีไม่พ้น ‘Universal Design’ ที่เรียกว่าเป็นกติกาสากลของโลกปัจจุบันและอนาคต ในการออกแบบสิ่งใดก็ตามเพื่อให้ทุกๆคนสามารถใช้งานได้ร่วมกันได้ โดยไม่มีการแบ่งแยก เพศ อายุ หรือความแตกต่างทางกายภาพ ดังจะเห็นได้ว่าเมืองใหญ่ๆหรือประเทศที่พัฒนาแล้วจะต้องมีการออกแบบภายใต้แนวคิด ‘การออกแบบเพื่อมวลชน’ มารองรับ ไม่ว่าจะเป็นด้านสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวก บริการต่างๆ การสื่อสาร ไปจนถึงการเรียนรู้

ทริปนี้ไม่มีล้อ เที่ยวกรุงเทพฯ ทางน้ำ หนีรถติดมาเลาะริมเจ้าพระยา

ได้หยุดยาวทั้งทีหรือต่อให้มีวันหยุดแสนสั้น ก็ขอไปเที่ยวจริงจังบ้างซักวันเถอะนะ! แต่ถ้าไม่อยากขับรถไกลไปต่างจังหวัด ในกรุงเทพก็มีแหล่งท่องเที่ยวสวยๆชิลๆที่ไม่ต้องเจอรถติด แถมค่าเดินทางก็ไม่กี่สิบบาท แต่สามารถไปเที่ยวสนุกได้ทั้งวันแล้ว

ทางเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา อนาคตที่ยังหาคำตอบไม่ได้

รู้ตัวหรือเปล่า? ‘เจ้าพระยา’ แม่น้ำสายหลักที่คนไทยอาศัยพึ่งพิงมาแต่อดีต และมรดกของชาติที่เป็นแลนด์มาร์กดึงดูดนักท่องเที่ยว กำลังจะเปลี่ยนไป!! โปรเจ็คท์ทางเลียบริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ลุงประยุทธผุดไอเดียและผ่านแผนโครงการตั้งแต่ปี 2558 เดิมทีจะเริ่มสร้างตั้งแต่ต้นปี 2559 แต่หลังจากที่โดนวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง ทำให้โครงการต้องถูกชะลอออกไป มาดูกันว่าล่าสุดแผนโครงการใหม่นี้ผ่านความเห็นชอบและดำเนินการไปถึงไหนแล้ว ท่ามกลางความสงสัยต่างๆนานาจากหลายฝ่าย โดยเฉพาะคำถามที่ว่า “สิ่งก่อสร้างนี้ได้ศึกษาวิเคราะห์มาดีแล้วจริงหรือ?” แล้วคุณล่ะคิดเห็นอย่างไรกับเรื่องนี้ ลองมาแชร์กัน

1 2 3

SEND YOUR STORY

REQUEST INTERVIEW

ติดตามอ่าน “Urban Creature”
นิตยสารออนไลน์ที่จะทำให้คุณรักเมืองที่คุณอยู่ รักตัวเองมากขึ้นด้วยการเปิดมุมมองและนำเสนอแนวทางการใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต
Better Life. Better Living.

Max. file size: 256 MB.