ส่องนวัตกรรมสู้โควิด-19 กับ ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์
‘ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์’ หรือ ‘พี่เอ้’ ที่เปลี่ยนบทบาทจากการเป็นอธิการบดีมาเป็นผู้นําในสังคมเพื่อช่วยเหลือประชาชน
‘ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์’ หรือ ‘พี่เอ้’ ที่เปลี่ยนบทบาทจากการเป็นอธิการบดีมาเป็นผู้นําในสังคมเพื่อช่วยเหลือประชาชน
คุณพอมีเวลาว่างสัก 3 นาทีไหม? สำหรับใครที่อยู่บ้านเหงาๆ หรือต้องกลับไปนั่งออฟฟิศเปื่อยๆ ลองมาออกกำลังกายยืดเส้นยืดสายกันสักหน่อย กับเวลาไม่ถึง 5 นาที ด้วยการหยิบท่ารำกลองยาวพื้นบ้านมาผสมผสานให้กลายเป็นการออกกำลังร่วมสมัย จาก ‘Thai Fit Studio’ ที่จะทำให้ช่วงเวลาอัปแอนด์ดาวน์ของเราไม่น่าเบื่ออีกต่อไป!
นี่คือยุค digital disruption ที่เทคโนโลยีสามารถทำได้ทุกอย่าง ถึงเวลาต้องเลือกระหว่าง ให้โลกกำหนดคุณ หรือ คุณจะชิงปรับตัวเองก่อนที่ใครจะมาแซงหน้า ?
ยามที่เราต้องห่างกันมากเป็นพิเศษ เพลงบางเพลงทำให้เราคิดถึงใครบางคน ‘พี่แสตมป์’ จึงขอเปิดช่วงไลฟ์บนเฟซบุ๊ก ‘ห่างกันวันละเพลง’ มาช่วยคลายเหงาและความคิดถึงบนโลกโซเชียล เราชวนพี่แสตมป์คุยเรื่องความสัมพันธ์ของผู้คนในช่วงนี้ ที่ความห่างไม่ได้เป็นอุปสรรคแต่กลับทำให้ได้ทบทวนว่า “ความสัมพันธ์ของเรามันสําคัญยังไง” #UrbanCreature #UrbanPeople #COVID19 #โควิด19 #ห่างกันวันละเพลง
ว่ากันว่า ‘ดนตรีคือโลกไร้พรมแดน’ จนบางครั้งขีดจำกัดของเพลงอาจไม่มี ชวนเจาะลึกวงการดนตรีกับตัวพ่อแห่งยุค ‘ป๋าเต็ด-ยุทธนา บุญอ้อม’ ผู้ที่คลุกคลีกับเสียงเพลง จนมองเห็นการเปลี่ยนผ่านของศิลปินไปจนถึงคนฟัง “เพราะคนฟังเพลงง่ายขึ้น ถ้าคุณจะทําเพลง คู่แข่งของคุณก็คือคนทั้งโลก” ป๋าเต็ดยังมองเห็นการเติบโตของอุตสาหกรรมดนตรีที่ตอนนี้คล้ายกับว่าเส้นแบ่งแนวเพลงเริ่มไม่มีอยู่ ไม่เพียงแค่ป๋าที่เห็น แต่เชื่อว่าหลายคนรวมถึงเราก็รู้สึกได้ การพูดคุยครั้งนี้จึงมีครบรสตั้งแต่ยุคแรกแย้มของเสียงเพลง ก้าวใหม่ของวงการดนตรี ไปจนถึงคำถามที่ว่า “จริงๆ แล้วตอนนี้ ดนตรียังมีขีดจำกัดเหลืออยู่หรือเปล่า ?”
ไวรัส COVID-19 ส่งผลกระทบไปทั่วทุกวงการ ไม่พ้น ‘วงการดนตรี’ ที่ตอนนี้ศิลปินหลายคนหันมาไลฟ์สดให้เราสนุกได้แม้อยู่บ้าน เพราะคอนเสิร์ตที่เป็นงานหลักต้องหยุดชะงัก รวมถึงคนทำงานส่วนอื่นต่างต้องพักงานไปตามๆ กัน เราชวน ‘ป๋าเต็ด-ยุทธนา บุญอ้อม’ เจ้าพ่อ music festival และเจ้าของบริษัทแก่น 555 จำกัด มาคุยถึงความเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมเพลงในช่วงโควิด-19 ที่ป๋าเต็ดบอกกับเราว่า ‘ฉิบหาย’ และอนาคตหลังหมดไวรัสซึ่งอาจเกิดขึ้นเหมือนในหนังเรื่องเดอะ เมทริกซ์ ที่คุณอาจดูคอนเสิร์ตที่บ้านแต่จับมือศิลปินที่ชอบได้
“ความสุขในการวาดรูป คือ การที่เราได้เป็นตัวเอง และแสดงออกในสิ่งที่เป็นเรา”
จะเป็นไปได้ไหมที่คนไทยจะสร้างบริการเหล่านี้เป็นของตัวเองด้วย ‘เทคสตาร์ทอัพ’ และสร้างแบรนด์ไปแข่งกับเมืองนอกได้
“ยาสมุนไพรไทยไม่มีพิษมีภัยถึงจะหายช้าหน่อย แต่ดีกว่ายาที่กินแล้วหายเร็วสุดท้ายต้องมารักษาไตทีหลัง”
“20 กว่าปีที่อยู่ในวงการ ผมจะไม่เอาความผิดพลาดของตัวเองไปยัดเยียดให้ลูกค้า เพราะลูกค้าเงินเขาแท้เขาต้องได้พระแท้”
เพราะในทุกอาชีพล้วนมีคุณค่า ‘โกวิทย์ หงส์จันดา’ นักผจญเพลิงหนึ่งในอาชีพที่เสี่ยงชีวิตมากที่สุดกับหัวใจที่เข้มแข็งและทุกย่างก้าวที่ฝ่าความร้อนระอุที่โหมกระหน่ำเพื่อช่วยหลายชีวิตให้รอดพ้นจากความตาย
URBAN SOLUTIONS: แผงลอย x เมือง ทางออกของการแก้ปัญหาทางเดินเท้าที่ดีคืออะไร?.กทม. ดำเนินการจัดระเบียบทางเดินเท้ามาตั้งแต่ปี 2557 หลากหลายแนวทางแก้ไขปัญหาถูกเสนอให้นำไปใช้ หนึ่งในนั้นคือ “การจัดสรรพื้นที่ให้พ่อค้าแม่ขาย” ได้มีที่ทางเฉพาะในการขายของ ซึ่งตอนนี้เริ่มเปิดให้บริการไปบ้างแล้ว เช่น บริเวณข้างห้างโลตัส ใกล้สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พื้นที่ 1,000 ตร.ม. รองรับผู้ค้าได้ 84 แผงค้า, บริเวณลานจอดรถข้างสวนลุมพินี พื้นที่ 500 ตร.ม. รองรับผู้ค้าได้ 128 แผงค้า, บริเวณหน้าภัตตาคารกุ้งหลวง พื้นที่ 700 ตร.ม.รองรับผู้ค้าได้ 48 แผงค้า และซอยข้างโรงพยาบาลเจ้าพระยา พื้นที่ 200 ตร.ม. รองรับผู้ค้าได้ 20 แผงค้า ซึ่งเริ่มทำการไปแล้วเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2560.นอกจากนี้ ยังเตรียมพื้นที่รองรับผู้ค้าในเขตอื่นๆ อีก ไม่ว่าจะเป็นสวนป่าวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง ตั้งแผงค้าได้ 150 แผง, บริเวณสำนักงานเขตบางนา ตั้งแผงค้าได้ […]