‘เตียงนอนกระดาษแข็ง’ เพื่อนักกีฬาโอลิมปิก 2020 รีไซเคิลได้ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่นอนยันตื่น
เจ้าภาพอย่างญี่ปุ่นเปิดตัว ‘เตียงนอนกระดาษแข็ง’ (Cardboard Beds) 18,000 เตียงสำหรับนักกีฬาโอลิมปิก และอีก 8,000 เตียงสำหรับนักกีฬาพาราลิมปิก
เจ้าภาพอย่างญี่ปุ่นเปิดตัว ‘เตียงนอนกระดาษแข็ง’ (Cardboard Beds) 18,000 เตียงสำหรับนักกีฬาโอลิมปิก และอีก 8,000 เตียงสำหรับนักกีฬาพาราลิมปิก
‘Etihad Airways’ สายการบินแห่งชาติของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ได้เริ่มให้บริการเที่ยวบิน ‘Eco-Flight’ ลำแรกของสายการบิน ด้วยเที่ยวบิน EY 57 ออกเดินทางจากอาบูดาบีไปยังบรัสเซลส์ โดยเครื่องบินโบอิ้ง 787 Dreamliner ซึ่งเป็นเครื่องบินประเภทใหม่ล่าสุด และมี ประสิทธิภาพมากที่สุดในฝูงบิน Etihad ที่สำคัญยังเป็นเครื่องบินที่กินน้ำมันน้อยกว่าสายการบินอื่นๆ อย่างน้อย 15% Tony Douglas ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของกลุ่ม Etihad กล่าวว่า การที่จะทำให้เกิดความ ยั่งยืนในอุตสาหกรรมการขนส่งทางอากาศเป็นเรื่องท้าทายอย่างมาก โดยเรามุ่งมั่นที่จะลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนฯ และของเสียในขณะเดินทางทางอากาศให้น้อยที่สุด Douglas ยังบอกอีกว่า ธีม ‘Green’ จะเป็นตัวกำหนดทิศทางของ Etihad ตั้งแต่ปี ค.ศ 2020 – 2050 นอกจากนี้ Etihad ยังร่วมมือกับธุรกิจอุตสาหกรรมอื่น ๆ เพื่อทดลองเทคโนโลยีที่จะทำให้เกิดความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมด้วย โดยนอกเหนือจากการเปลี่ยนเส้นทางให้เหมาะสม เพื่อลดการใช้เชื้อเพลิงแล้ว Etihad ยังเริ่ม เปลี่ยนวิธีการบำรุงรักษา การทำความสะอาดโดยไม่ต้องล้างภายนอกเครื่องยนต์ที่ต้องใช้ทั้งเงินและทรัพยากรเป็นจำนวนมาก รวมถึงการใช้รถพลังงานไฟฟ้าในการขนส่ง สัมภาระ และมีเป้าหมายที่จะลดการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งลงให้ได้ […]
สำหรับหลายๆ คน การเริ่มต้นปีใหม่อาจเป็นโอกาสในการเปลี่ยนแปลงตัวเอง อย่างการเลิกนิสัยแย่ๆ หรือตั้งเป้าหมายที่จะเป็นคนที่ดีขึ้น แต่การใช้ชีวิตของเรานั้นส่งทั้งผลดีและผลร้ายให้กับโลก ในแบบที่เรารู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม ซึ่งผลลัพธ์จากสิ่งที่เรากระทำลงไปย่อมสะท้อนกลับมาเสมอ ดังนั้นเราจึงชวนทุกคนมาตั้ง New Year’s Resolution ด้วยการคำนึงถึงโลกและรับผิดชอบต่อส่วนรวมมากขึ้น เริ่มต้นจากการปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ตาม 6 แนวทางนี้ เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนและสังคมที่ดีขึ้น 1. ‘ร้านรีฟิล’ ช่วยโลกลดขยะพลาสติก ขยะพลาสติกกลายเป็นปัญหาใหญ่ของโลกที่ต้องรีบเร่งแก้ไข วิธีการหนึ่งที่กลายเป็นไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่นั่นคือ ‘Zero Waste’ หรือการใช้ชีวิตที่ไม่สร้างขยะ แม้อาจฟังดูเป็นเรื่องยากแต่ตอนนี้บ้านเรามีธุรกิจใหม่มาช่วยแก้ปัญหา อย่าง ‘ร้านค้าแบบเติม’ (Bulk Store) ที่เราสามารถนำภาชนะมาเติมผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันต่างๆ ได้ อย่างร้านสไตล์ ‘Refill Station’ ที่มีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมาย ทั้งผลิตภัณฑ์ดูแลร่างกาย ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด ไปจนถึงอาหารแห้งและขนมขบเคี้ยว ซึ่งในกรุงเทพฯ ก็มีร้านรีฟิลเกิดขึ้นมากมาย เช่น Grasstonomy, Zero Moment Refillery, Less Plastic Able แต่ถ้าไม่สะดวกหรืออยู่ไกลยังมีร้าน ‘Greenherit’ เป็นรถรีฟิลเคลื่อนที่ขับไปตามหมู่บ้าน คอนโดมิเนียม หรือออฟฟิศ รวมถึงตลาดนัดสายกรีนต่างๆ […]
SCG ร่วมส่งเสริมการบริหารจัดการขยะ ผ่านโครงการ “ชุมชน LIKE (ไร้) ขยะ” ที่เป็นความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และธนาคารขยะ เปลี่ยนขยะให้มีมูลค่าอย่างเป็นรูปธรรม นำร่องที่ชุมชนในมาบตาพุด จ.ระยอง
“เป็นไปได้จริงหรือที่คนเราจะสามารถใช้ชีวิตหนึ่งวัน โดยไม่สร้างขยะเลยแม้แต่ชิ้นเดียว ??” นี่คือสิ่งที่เราสงสัยมาตลอดเมื่อได้ยินคนพูดถึงการใช้ชีวิตแบบ Zero Waste หรือการใช้ชีวิตโดยสร้างขยะศูนย์ชิ้นในแต่ละวัน ในระยะหลังเราได้ยินแนวคิดการใช้ชีวิตแบบ Zero Waste มากขึ้น สลับกับข่าวปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีให้เห็นรายวัน ตามมาด้วยคำถามมากมายอย่างความเป็นไปได้ที่แนวคิดนี้จะทำได้จริง โดยเฉพาะเมื่อต้องใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทย ซึ่งดูเหมือนทุกอย่างจะเอื้ออำนวยให้การดำเนินชีวิต ทิ้งร่องรอยการสร้างขยะได้ทุกเมื่อ
ในหนึ่งเดือนคุณใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อเสื้อผ้าเท่าไหร่ ? หากนับเป็นเงินอาจไม่เท่าไหร่ แต่เมื่อลองกลับไปเปิดตู้ดูที่บ้าน เสื้อผ้าจำนวนมากเราไม่รู้ด้วยซ้ำว่าซื้อมาตั้งแต่เมื่อไหร่ หลายครั้งซื้อมาซ้ำกับที่มีอยู่ รู้ตัวอีกทีเสื้อผ้าที่บ้านก็เยอะเกินความจำเป็นไปแล้ว !
ทำความรู้จักกับเกมน้องใหม่ ‘Flotsam’ ที่มีเอกลักษณ์ด้วยความน่ารัก สดใส แตกต่างจากเกมสร้างเมืองลอยน้ำรุ่นพี่อย่าง Buoyancy ที่นอกจากต้องเอาชีวิตรอดในโลกที่จมอยู่ใต้มหาสมุทรแล้ว เรายังต้องบริหารและสร้างเมืองจากขยะเพื่อรองรับผู้รอดชีวิตไปพร้อมๆ กัน
‘ชูเกียรติ โกแมน’ คือหนึ่งในทีมงานสวนผักคนเมือง ที่เห็นความสำคัญของการแยกขยะ และเห็นค่าของขยะอาหาร จนหยิบมาทำเป็นปุ๋ยหมักธรรมชาติ พร้อมคิดค้นระบบกล่องปุ๋ยหมักที่ทำได้ทุกบ้าน เราชวนพี่ชูเกียรติมาร่วมพูดคุยถึงการจัดการขยะอาหาร ขั้นตอนการทำปุ๋ยหมัก ความสำคัญของการแยกขยะ ตลอดจนช่วยไขความกระจ่างว่า ทำไมประเทศไทยถึงยังก้าวสู่สังคม Zero Waste ไม่ได้เสียที
ออกสำรวจปัญหาขยะทะเลไทย ทางออกของปัญหา ไปจนถึงการส่งต่อความรู้จากชุมชนสู่ชุมชนในแบบฉบับบ้านมดตะนอย
วันนี้เรามีโอกาสได้คุยกับ ‘ลุงรีย์-ชารีย์ บุญญวินิจ’ ผู้บุกเบิกฟาร์มลุงรีย์ และ ‘พี่นัท-กิตติพงศ์ กีรติเตชะนันท์’ นักเพาะเห็ดที่มาเรียนรู้จากฟาร์มลุงรีย์ ทั้งสองคนจะมาแชร์ประสบการณ์เกษตรกรรุ่นใหม่อยู่อย่างไรในเมือง รวมทั้งเป้าหมายในอนาคตของฟาร์มในเมืองที่พึ่งพาตัวเองได้ หน้าตาจะเป็นอย่างไรตามไปดูกัน
‘พี่กบ ทีมงานจาก Big Trees Project’ ในครั้งนี้ จะช่วยให้หลายคนฉุกคิดถึง ‘ต้นไม้’ เพื่อนรักของมนุษย์กันมากขึ้น แล้วหันกลับมาเอาใจใส่ หมั่นคอยดูแล และรักษาให้เขาอยู่กับเราไปนานเท่านาน เพราะถ้าไม่มี ‘ต้นไม้’ เราก็คงเหมือนขาด ‘ลมหายใจ’ ที่คอยเลี้ยงชีวิตของเราเช่นกัน
ภารกิจ 3 วัน 2 คืน ปลูกต้นไม้กอบกู้ ‘ผืนป่าเชียงดาว’
ภาพข่าว ‘ไฟไหม้ป่าเชียงดาว’ ที่ทำให้เชียงใหม่สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ไปกว่า 400 ไร่ยังคงติดตาเราทุกวันนี้ รวมถึงบริเวณเชียงดาวที่เป็นต้นกำเนิดของสายน้ำแม่ปิง ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักที่ไหลไปหล่อเลี้ยงคนเมืองเชียงใหม่และคนไทยทั้งประเทศยังเกิดบาดแผลครั้งใหญ่ นั่นคือแรงบันดาลใจที่ผลักดันให้เรา ‘ขึ้นเหนือไปปลูกป่า’ พร้อมหอบหิ้ว ‘ภารกิจต่อลมหายใจให้ป่าเชียงดาว’ ติดตัวไปด้วย