เปิดบันทึก 5 เรื่องราวของ Frida Kahlo ศิลปินหญิงเม็กซิกันผู้มอบแรงบันดาลใจ
‘วันสตรีสากล’ มีจุดเริ่มต้นครั้งแรกในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.1907 เมื่อกรรมกรหญิงในโรงงานทอผ้าที่เมืองชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา เดินขบวนเรียกร้องขอความเป็นธรรม
‘วันสตรีสากล’ มีจุดเริ่มต้นครั้งแรกในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.1907 เมื่อกรรมกรหญิงในโรงงานทอผ้าที่เมืองชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา เดินขบวนเรียกร้องขอความเป็นธรรม
ช่วงตรุษจีนที่ผ่านมา เผอิญเราไปสะดุดตากับไอเท็มสุดคิ้วท์ของ ‘Suntur Store’ คอลเลคชั่น “ขอให้ฉันโชคดี” ที่มีรูปลักษณ์สุดมินิมอลแต่แฝงด้วยคอนเซปต์เรื่องดวง ที่ดูๆ ไปก็คล้ายการติดสติ๊กเกอร์แก้เคล็ดท้ายรถ “รถคันนี้สีแดง” ที่เชื่อว่าเจ้าของรถจะโชคดี
เมื่อความหลงใหลนำพามาซึ่งการเดินทางของคุณนิรุติ กรุสวนสมบัติ นักออกแบบและจัดพิมพ์ด้วยระบบเลตเตอร์เพรสส์ หนึ่งในระบบที่กำลังจะสูญหายไปจากประเทศไทย โดยผสมผสานเข้ากับการออกแบบที่ทันสมัย เรียกว่าสุดแสนจะเปิ๊ดสะการ์ดเลยล่ะ ความจริงระบบเลตเตอร์เพรสส์เป็นระบบที่อยู่กับเรามานานมากแล้ว โดยเป็นการพิมพ์พื้นนูนที่ใช้แม่พิมพ์ทำจากโลหะผสมหรือพอลิเมอร์อย่างหนา กัดผิวจนเหลือส่วนที่เป็นภาพนูนสำหรับรับหมึกพิมพ์ แล้วถ่ายทอดลงบนวัสดุที่ใช้พิมพ์โดยใช้วิธีกดทับจนเกิดเป็นงานพิมพ์ขึ้นมา และรู้หรือไม่ เลตเตอร์เพรสส์เป็นระบบการพิมพ์ใช้เชิงธุรกิจระบบแรกของโลกที่นับว่าเก่าแก่ที่สุด ซึ่งใช้กันมานานกว่า 600 ปีแล้ว จากความคิดของ ‘โยฮัน กูเตนเบิร์ก’ บิดาแห่งการพิมพ์ โดยผลงานการพิมพ์ชิ้นสำคัญที่สร้างชื่อเสียงให้เขาจนถึงปัจจุบันนี้คือหนังสือไบเบิลของกูเตนเบิร์กนั่นเอง มาร่วมเดินทางตามรอยกลิ่นหมึก สัมผัสถึงพื้นผิวของเนื้อกระดาษ และซึมซับเรื่องราวไปพร้อมๆ กัน | ก้าวแรกของ Press a Card มันเริ่มจากที่บ้านมีโรงพิมพ์เก่าของคุณป้าอยู่ อายุประมาณ 30 – 40 ปีได้ มันก็จะมีเครื่องพิมพ์พวกนี้อยู่เต็มไปหมด แล้วเผอิญเราก็เป็นนักออกแบบอยู่ด้วย ก็เลยมีความคิดว่ามันน่าจะทำอะไรที่เกี่ยวกับการออกแบบได้นะ ซึ่งช่วงที่เริ่มทำจริงจังก็เมื่อสักประมาณ 10 กว่าปีก่อน ที่ลองเอาเทคนิคการพิมพ์แบบระบบเลตเตอร์เพรสส์มาผสมกับงานออกแบบเพื่อทำการ์ดแต่งงานของเราเอง แล้วตั้งแต่นั้นก็ทำมาเรื่อยๆ จนเพื่อนเห็น คนนี้ คนนั้นเห็น แล้วบอกต่อปากต่อปากไปเรื่อยๆ จนกลายเป็น Press a Card ในปัจจุบันนี่แหละ เปิ๊ดสะการ์ด | First Class […]
“ทำไมช่วงนี้ aggressive จังวะ”
เวลาเจอเรื่องชวนหัวร้อน เราคงเคยมีโมเมนต์อยากทุ่มโพเดียมกันบ้างแหละ หรือบางทีก็แอบหงุดหงิดกับเรื่องเล็กๆ อย่างรถติด งานเร่ง โดนแซงคิวขึ้นรถตู้ หรือแม้แต่ขี้นกตกใส่ตอนเช้า การใช้ชีวิตในเมืองดูเหมือนจะมีเรื่องให้ปวดหัวแตกต่างกันไปในแต่ละวัน
บทสนทนาเกี่ยวกับ “ลำนำอีแซว” จากคุณแม่ขวัญจิต ศรีประจันต์ ที่ “ศูนย์การเรียนรู้พื้นบ้าน แม่ขวัญจิตร ศรีประจันต์” จังหวัดสุพรรณบุรี
‘น้องเพนท์ฟ้า ชาญชุติวานิชย์’ เด็กน้อยวัย 12 ขวบที่ตอบคำถามที่ว่า “โตขึ้นอยากเป็นอะไร ?” ทุกครั้งด้วยคำว่า “ศิลปิน” มุ่งสู่ทางเดินศิลปะอย่างเต็มกำลัง จนสามารถวาดรูปที่สะท้อนตัวตนของน้องได้อย่างชัดเจน และมีแกลเลอรีแสดงผลงานให้เราได้ชื่นชม
เมื่อชีวิตต้องอยู่ไกลบ้าน “เทศกาลวันหยุด” จึงเป็นเหมือนช่วงนาทีทองของใครหลายคน ที่ต่อให้ต้องนั่งอัดอยู่บนรถกับคนเป็นสิบ หรือเบียดเสียดกับรถคันอื่นๆ บนท้องถนนก็ยอม เพียงเพื่อจะได้กลับบ้านแม้เป็นช่วงเวลาสั้นๆ ไม่กี่วัน แต่แค่นั้นก็สุดแสนมีค่าสำหรับคนจากบ้านมานาน
“เราเห็นคนไร้บ้าน คนเร่ร่อนอยู่ทุกวัน ถ้าเราสามารถช่วยเหลือพวกเขาได้ เราอยากจะช่วยอะไร ?” เชื่อว่าทุกคนต้องเคยเห็น คนเร่ร่อน หรือ คนไร้บ้านตามพื้นที่สาธารณะ พวกเขาเหล่านั้นล้วนอยู่ในสถานะ “คนไร้ที่พึ่ง” ที่ขาดแหล่งพักพิงทางกายและจิตใจ ซึ่งเรายังหมายรวมถึง คนไร้สัญชาติ อีกด้วย จากการสำรวจของมูลนิธิอิสระชนเกี่ยวกับคนไร้ที่พึ่งในประเทศไทย พ.ศ. 2560 มีมากถึง 70,539 คน และมีแนวโน้มจะเพิ่มจากปีก่อนมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจาก ตกงาน ไม่มีงานทำ หรือ มีอาการเจ็บป่วยทางจิตและร่างกาย ซึ่งแน่นอนว่า ทุกประเทศย่อมมีคนไร้ที่พึ่งในพื้นที่ คุ้นชินกับการมีอยู่ของพวกเขา ซึ่งบางคนอาจช่วยเหลือพวกเขาด้วยการให้เงิน ให้อาหาร หรือสิ่งของเครื่องใช้ เหล่านั้นอาจไม่ใช่คำตอบที่จะช่วยพวกเขาได้อย่างยั่งยืนสักเท่าไหร่ แต่การช่วยเหลือที่เราจะหยิบมาพูดถึงต่อไปนี้ คือการสร้างอาชีพ และสร้างชีวิตพวกเขาให้ดีขึ้นอย่าง “THE BIG ISSUE” นิตยสารสร้างอาชีพให้คนไร้ที่พึ่ง A HAND UP NOT A HAND OUT | ให้เบ็ดดีกว่าให้ปลา ใครจะคิดว่า บทสนทนาระหว่าง ‘GORDON RODDICK’ นักธุรกิจหนุ่ม […]
‘คุณคิม จินยอง’ เริ่มต้นการเดินทางในเมืองไทยในฐานะนักท่องเที่ยวที่อยากค้นหาตัวตนเหมือนใครหลายคน แต่อาจเพราะความใจดี รอยยิ้ม และการใช้ชีวิตสบายๆ ที่ได้สัมผัส ทำให้เธอตัดสินใจเปลี่ยนตัวเองจากสาวชาวเกาหลี เป็นสาวชาวไทยที่ใช้ชีวิตอย่างค่อยเป็นค่อยไปใน ‘ย่านถนนพระอาทิตย์’
บทสนทนาแสนอบอุ่น เรียบง่าย และข้อคิดจากผู้ชายธรรมดาๆ เจ้าของร้านทำสีมอเตอร์ไซค์ ที่ตั้งใจฟูมฟักลูกชายให้เติบโตเป็นคนดี ลงมือทำให้เห็นและสัมผัสถึงความรักในงานศิลปะ ที่ค่อยๆ ซึมซับในตัวลูกชาย จนเรียกได้ว่า “ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น”
คนสุพรรณบุรี มีความหลากหลายซุกซ่อนอยู่ ความแตกต่างของเชื้อชาติ วัฒนธรรม และประเพณีที่มาจากคนละถิ่น หากแต่เมื่อมารวมตัวกันแล้ว กลับผสานเป็น “คนเมืองสุพรรณ” ได้อย่างกลมกลืน เราเลยจะพาไปเรียนรู้ รับฟังเรื่องราวต่างถิ่นที่มาของ “คนสุพรรณ” ที่ถูกถ่ายทอดออกมาผ่านถ้อยคำ “เหน่อเสน่ห์” แสนน่ารักและเป็นกันเอง
ทุกวันนี้การเป็นมนุษย์เงินเดือนไม่ใช่คำตอบอีกต่อไป ใครจะรู้ว่าวันหนึ่งตื่นขึ้นมาเราอาจกลายเป็นคนว่างงาน ดังนั้นทางออกที่ดีที่สุดก็คือการหาความรู้และฝึกอาชีพเสริมติดตัว เพราะเมื่อถึงเวลาคับขันว่างงานขึ้นมาจริงๆ เราได้จะมี “ของ” ไว้ใช้ทำมาหากินได้ เราเลยจะพาทุกคนไปรู้จักกับศูนย์ฝึกอาชีพในกรุงเทพฯ ทั้ง 9 แห่ง ผ่าน “ศูนย์ฝึกอาชีพฯ วัดธรรมมงคล” ให้มากขึ้น