ออกเดินทางไปกับ 6 สะพานแห่งปี

เพราะแท้จริงแล้วสะพานเป็นได้มากกว่าแค่พื้นที่สำหรับข้ามผ่านจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเป็นเหมือนจุดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น เราจึงพาออกเดินทางข้ามสะพานไปดูหลากหลายองค์ประกอบที่เป็นทั้งการแก้ไขปัญหาของเมือง และพื้นที่สาธารณะไปด้วยกัน

Fail in Love with Bangkok สะท้อนกรุงเทพฯ ผ่านภาพยนตร์

สะท้อนปัญหาความไม่โรแมนติกของมหานครกรุงเทพผ่านภาพยนตร์เรื่องต่างๆ และสมมุติเหตุการณ์ว่าถ้าเรื่องราวต่างๆ

เพราะลูกจ้างไม่ใช่ทาส

: ไม่อยากไปทำงานว่ะ: งานเยอะจนต้องแบกมาทำนอกเวลาแล้วเนี่ย: เจ้านายไม่รับฟังปัญหาอะไรเลย: เมื่อไหร่จะวันศุกร์วะ (แต่วันนี้เพิ่งวันจันทร์เองนะ)  เรื่องเล่าจากเพื่อนชาวออฟฟิศที่ต่อสายหาฉันกลางดึกเพื่อระบายปัญหาร้อยแปดที่ติดกับดักกลืนไม่เข้าคายไม่ออก ไม่รู้จะเอาอย่างไรกับชีวิต กระตุกต่อมให้ฉันสนใจจนอยากถกถามทุกคนว่าคุณเคยเครียด ดราม่า กดดันในที่ทำงาน หัวหน้าไม่รับฟังปัญหา ปริมาณงานถาโถมแต่ไม่คุ้มเงินแถมเสียสุขภาพ หรือบางครั้งต้องแบกร่างเอางานมาทำนอกเวลาเพราะไม่ทันจริงๆ บ้างไหม นี่ยังไม่รวมทัศนคติคนในออฟฟิศและบรรยากาศที่ไม่เอื้อให้อยากปิดนาฬิกาปลุกแล้วลุกจากเตียงมาทำงาน ถ้าคุณประสบปัญหาที่ว่ามาหรือนอกเหนือจากนี้แต่น่าปวดหัวไม่แพ้กัน คุณนุ่น-นววรรณ สุขจิตร นักจิตวิทยาจาก Ooca: workplace psychologist แพลตฟอร์มที่ให้บริการดูแลใจพนักงานในองค์กรรับอาสาแชร์มุมมอง กะเทาะต้นตอปัญหา และช่วยหาทางออกของเรื่องที่พันยุ่งเหยิงยิ่งกว่าสายหูฟังนี้ให้เคลียร์ 01 ลูกจ้าง : เกิดมาเพื่อโดนกด? ถ้าคิดให้ดีโลกนี้ประหลาดที่ผู้มีอำนาจในสังคม ไม่ว่าจะบริบทไหนก็ตาม มักมีจำนวนน้อยกว่าผู้อยู่ใต้อำนาจ หากมองให้ใกล้ตัวก็สถานศึกษาที่มีนักเรียนหรือนักศึกษามากกว่าครูหรือผู้บริหาร รัฐบาลที่มีน้อยกว่าประชาชน และถ้าจะพูดให้เข้ากับสถานการณ์สงครามทางกระแสจิตของลูกจ้างและลูกน้องในออฟฟิศ ตัวเลขจากสำนักงานสถิติแห่งชาติก็แสดงโผงผางว่า ในต้น พ.ศ. 2563 นายจ้างที่รับบทเป็นเจ้านายมีเพียง 9.87 แสนคน ต่างกับจำนวนลูกจ้างภาครัฐและเอกชนที่รวมกันแล้วมีถึง 19.77 ล้านคน! (อ้างอิงจาก https://bit.ly/3qJuzvu) ซึ่งมันก็จะงงๆ หน่อยว่าทำไมคนส่วนน้อยที่ถืออำนาจบางกลุ่ม ทำไมหนอทำไม ถึงไม่ฟังเสียงของคนหมู่มากที่เป็นลูกจ้างบ้างเลย คุณนุ่นอธิบายปรากฏการณ์ความวายป่วงของระบบเจ้านายในเชิงจิตวิทยาไว้ว่า คนที่อยู่ในสถานะที่สามารถควบคุมคนได้รู้สึกมีอำนาจมากขึ้นเพราะคนในสังคมยกยอปอปั้นสนับสนุนแนวคิดเจ้านายเป็นใหญ่ หรือเรียกว่า Authority […]

เมื่อประจำเดือนเป็นสิ่งต้องห้าม ผ้าอนามัยกลายเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ไม่อาจพูดถึง

สารคดีสั้น ‘Period End of Sentence’ ผลงานจาก Netflix ที่เปิดเผยเรื่องราวในอีกมุมหนึ่งของโลก ประเทศอินเดียการมีประจำเดือนกลายเป็นสิ่งต้องห้าม และเรื่องผิดบาปที่ติดตัวผู้หญิงไปตลอดชีวิต

ชวนดูการออกแบบ 7 หอพักนักศึกษาทั่วโลก ที่คิดเพื่อคนอยู่ ดีต่อใจ ไม่ใช่ห้องรูหนู

หอพักนักศึกษาประเทศอื่นหน้าตาเป็นอย่างไร เหมือนหรือต่างจากของบ้างเรากันนะ ชวนดู 7 การออกแบบหอพักนักศึกษาทั่วโลก

‘ศาลพระภูมิ’ ยุคใหม่ บทพิสูจน์ที่ยืนหยัดบนความเชื่อ

บริษัทศาลพระภูมิ ‘Holyplus’ ศาลพระภูมิยุคใหม่ ที่เปลี่ยนมุมมองของศาลพระภูมิให้เข้ากับยุคเข้าสมัย และเป็นส่วนหนึ่งของอาคารบ้านเรือน ซึ่งกลมกลืนเข้ากับสิ่งแวดล้อมรอบข้างได้อย่างลงตัวที่แม้กาลเวลาก็ไม่ใช่เงื่อนไขอีกต่อไป

ทำไมสร้างเมืองต้องฝัง ‘เสาหลักเมือง’

ตอนเด็กๆ จำได้ว่าเคยดูละครเรื่อง “เจ้ากรรมนายเวร” แล้วมีตอนหนึ่งที่เขาโยนคนลงในหลุมแล้วตอกเสาเข็มประตูชัยเมืองทับลงไป เพื่อฆ่าเอาดวงวิญญาณมาดูแลมืองถือเป็นฉากที่น่ากลัวและเป็นที่พูดถึงเป็นอย่างมากในสมัยนั้น เราจึงพาย้อนเวลาไปตามหาที่มาของ ‘เสาหลักเมือง’ ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน

อยู่เย็นเป็นสุขที่ ‘อ๊าม’ ศรัทธาแห่งภูเก็ต

‘อ๊าม’ หากใครได้ยินคำนี้คงต้องนั่งขมวดคิ้วเป็นงงแน่นอน แต่สำหรับชาวภูเก็ตแล้วแค่มองตาก็รู้ใจแล้วล่ะ เพราะ ‘อ๊าม’ แปลว่าศาลเจ้า ซึ่งสำหรับชาวภูเก็ตที่มีเชื้อสายจีนแล้วที่นี่กลายเป็นศูนย์รวมศรัทธาที่ผสมผสานอยู่ในทุกช่วงชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย

‘รู้จักตัวเองให้ดี’ เพื่อตอบเป้าหมายชีวิตให้ชัดเจน

ชวนมาทำความรู้จักตัวเองให้มากขึ้น เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นที่จะสร้างเป้าหมายในชีวิตให้มีความหมาย ผ่านการค้นหาตัวเองด้วย 3 วิธีง่ายๆ ที่ใครก็สามารถทำได้จากสิ่งรอบตัว ที่หลังอ่านบทความนี้ไป อาจจะช่วยปลุกเเรงบันดาลใจให้คุณเข้าใจตัวเอง หรือวางแพลนที่อยากทำในสิ่งที่ชอบให้เกิดขึ้นสักที !

เที่ยวภูเก็ตฉบับเจ้าถิ่น เมืองที่ไม่ได้มีดีแค่ทะเล

เรื่องราวประวัติศาสตร์ของภูเก็ตจากรากที่แท้จริงในมุมที่เราไม่เคยรู้มาก่อน จากปากของเจ้าถิ่นทำให้การท่องเที่ยวครั้งนี้ ไม่ใช่แค่การเดินถ่ายรูปสวยๆ แล้วจบ แต่ภายใต้ภาพสวยงามของสถาปัตยกรรม และสีสันที่สดใสของตึกรามบ้านช่อง ยังคงแฝงไปด้วยเรื่องราวมากมายที่รับรองว่าเป็นมุมที่หลายคนไม่เคยรู้มาก่อน

ตามกลิ่นกระดาษ เข้า ‘ร้านหนังสือเก่า’ ย่านวังบูรพา

บางคนชอบกลิ่นฝน หลงใหลกลิ่นดิน เสพติดกลิ่นต้นหญ้าเวลาฝนตก แต่สำหรับเรา ‘กลิ่นหนังสือ’ ก็มีเสน่ห์ไม่แพ้กัน ในคราวนี้คอลัมน์ Urban Guide จะพาทุกคนย้อนวันวานตามกลิ่นกระดาษ เข้า 5 ร้านหนังสือเก่าย่านวังบูรพา ไปสวัสดีเหล่าคุณตาคุณยาย พร้อมพูดคุยว่าตอนนี้ย่านที่ในอดีตเคยเต็มไปด้วยศูนย์การค้า โรงหนัง โรงเรียน และร้านหนังสือมาว่าวันนี้เป็นอย่างไร

1 2

SEND YOUR STORY

REQUEST INTERVIEW

ติดตามอ่าน “Urban Creature”
นิตยสารออนไลน์ที่จะทำให้คุณรักเมืองที่คุณอยู่ รักตัวเองมากขึ้นด้วยการเปิดมุมมองและนำเสนอแนวทางการใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต
Better Life. Better Living.

Max. file size: 256 MB.