‘ต้นไม้’ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 ได้ไหม?
เมื่อฝุ่นอนุภาคจิ๋วยังคงลอยฟุ้งอยู่ทั่วอากาศไม่มีท่าทีจะจางหาย จนทำให้ต้องกลับมานั่งคิดว่า กรุงเทพฯ ยังพอมีทางเลือกไหนบ้าง ที่ทุกคนสามารถป้องกันฝุ่น PM 2.5
เมื่อฝุ่นอนุภาคจิ๋วยังคงลอยฟุ้งอยู่ทั่วอากาศไม่มีท่าทีจะจางหาย จนทำให้ต้องกลับมานั่งคิดว่า กรุงเทพฯ ยังพอมีทางเลือกไหนบ้าง ที่ทุกคนสามารถป้องกันฝุ่น PM 2.5
เมื่อช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ค่าฝุ่นละอองหลายพื้นที่ในประเทศไทยกลับมาอยู่ในระดับที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอีกครั้ง ซึ่งสาเหตุของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือที่เราคุ้นกันในชื่อ PM 2.5 มาจากหลายปัจจัยด้วยกัน หนึ่งในนั้นคือการเผาไหม้ที่เกิดจากการคมนาคมขนส่งที่เราใช้กันทุกวัน การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจากการคมนาคมขนส่งก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน สารตะกั่ว และก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนและคุณภาพของอากาศโดยรวม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงร่วมยกระดับคุณภาพการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วยการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าในระบบขนส่งสาธารณะ จับมือกับบริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกัด นำเรือโดยสารพลังงานไฟฟ้าของ กฟผ. ออกทดลองให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป ภายใต้แนวคิดการประหยัดพลังงานและลดมลพิษให้ได้มากที่สุด การทดลองเรือโดยสารพลังงานไฟฟ้านี้จะให้บริการเส้นทางแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่ท่าเรือปากเกร็ด – พระราม 7 และท่าเรือพระราม 7 – สาทร เป็นเวลา 6 เดือน สำหรับผู้ที่สนใจ ติดตามวันและเวลาที่เริ่มให้บริการได้ที่เฟซบุ๊กแฟนเพจ Chao Phraya Express Boat – เรือด่วนเจ้าพระยา Sources : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย https://bit.ly/3pW0Fm2กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม https://bit.ly/3qTGxlY
เมื่อย่างก้าวเข้าสู่ฤดูหนาว นอกจากอากาศเย็นแล้วสิ่งที่แถมมาด้วยทุกปีก็คือ “ฝุ่น” อย่างวันนี้ในหลายพื้นที่ของ กทม. และปริมณฑล มีค่าฝุ่น PM2.5 อยู่ในระดับเกิน 100 จนทำให้ กทม. กลายเป็นเมืองที่มีค่าฝุ่นสูงสุดเป็นอันดับ 5 ของโลก‘ไทย’ คว้าแชมป์ประเทศที่มีจุดความร้อนจากการเผาไหม้มากที่สุดในอาเซียน สะท้อนค่าฝุ่นที่พุ่มสูงขึ้นของ กทม. นอกจากนี้หากดูสถานการณ์จุดความร้อนที่มีค่าความร้อนผิดปกติบนผิวโลก (Hot Spot) จากการเผาไหม้ต่างๆ ผ่านภาพถ่ายดาวเทียม Suomi NPP (VIIRS) ประจำวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2563 พบว่าประเทศไทยมีจุดความร้อนมากที่สุดในแถบอาเซียนอยู่ที่ 523 จุด ตามติดด้วยอันดับ 2 ประเทศพม่า 147 จุด และประเทศกัมพูชา 103 จุด ซึ่งจุดความร้อนที่พบมาจากการเผาไหม้ต่างๆ นั้น สะท้อนให้เห็นว่า ถ้ายิ่งมีจุดความร้อนมาก ฝุ่นก็มากขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่ กทม. ก็เตรียมรับมือกับฝุ่น PM2.5 เช่นกัน “โดยมาตรการระยะยาว” คือสนับสนุนให้ประชาชนหันมาใช้บริการขนส่งสาธารณะและเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วยฟอกฝุ่น ส่วน […]
The Leaf แมสก์โปร่งใสสัญชาติอเมริกา ที่สามารถเห็นรอยยิ้ม ความรู้สึก และท่าทีของคนที่พูดคุยด้วยได้เหมือนปกติ
12 ปีคือจำนวนระยะเวลาที่ฝุ่น PM 2.5 เป็นปัญหาที่ยังแก้ไขไม่ได้สักทีของภาคเหนือ เราจึงชวนมาดูมาตรการที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยใช้รับมือกับฝุ่นภาคเหนือตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2563 ที่ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากการเผาพื้นที่โล่ง