Jean Jullien ศิลปินแดนน้ำหอมชื่อก้องโลกผู้รักการวาดภาพตลกร้าย
ทำความรู้จัก ‘ฌอง จูเลียง’ นักวาดภาพประกอบและศิลปินชาวฝรั่งเศส ผู้สร้างแรงบันดาลใจสนุกๆ ผ่านลายเส้นซุกซน
ทำความรู้จัก ‘ฌอง จูเลียง’ นักวาดภาพประกอบและศิลปินชาวฝรั่งเศส ผู้สร้างแรงบันดาลใจสนุกๆ ผ่านลายเส้นซุกซน
พาไปหลีกหนีความวุ่นวายที่ ‘บ้านเล็กวิลล่า’ บ้านใต้ถุนสูงกลางสวนที่จะทำให้คุณตกหลุมรักเมืองจันท์ยิ่งขึ้น
เมื่อ ‘งานหวาย’ กลับมาฮิตอีกครั้ง เราจึงอยากพาทุกคนไปรู้จักกับ ‘ลิตเติ้ล – สมฤทัย บุญใหญ่’ ผู้ปุกปั้นแบรนด์เฟอร์นิเจอร์หวาย ‘Litin’ ด้วยความตั้งใจที่อยากจะเปลี่ยนภาพจำงาน ‘หัตถกรรมไทย’ ให้เข้าถึงคนสมัยใหม่มากขึ้น
คุยกับ น้อยหน่า-สุริยา นักเขียนการ์ตูนขายหัวเราะ ผู้สร้างความสุขผ่านศิลปะให้เมืองจันทบุรี
รู้จักกันมา 3 ปีแล้วนะ.จำได้ว่าตอนก่อตั้งเพจ Urban Creature นี้ขึ้นมา เราอยากเป็นกระบอกเสียงที่ช่วยส่งต่อเรื่องราวดีๆ ให้กับชาวเมือง ไม่ว่าจะเป็นพลังของคนตัวเล็กๆ ที่สร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นให้กับเมือง กลุ่มคนที่ช่วยกันคิดโปรเจกต์ดีๆ ต่อสังคม และสนับสนุนให้อยู่ร่วมกับกับสิ่งเเวดล้อมอย่างเข้าใจ ทุกวันนี้ก็ยังตั้งใจที่จะนำเสนอเรื่องราวเหล่านี้เพื่อส่งต่อสิ่งดีๆ อยู่เสมอ.ตอนนี้ Urban Creature เดินทางมาได้ 3 ปีแล้ว เราขอขอบคุณทุกคนที่อยู่เคียงข้างกันมาโดยตลอด เพราะเสียงของทุกคนทำให้เราอยากทำต่อไปและพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ แล้วเพื่อนๆ ล่ะ บอกเราหน่อยว่า 3 ปีที่ผ่านมาชอบโพสต์ไหน หรือมาเเชร์ความคิดของคุณก็ได้นะ ว่าอยากให้เราทำอะไรต่อ ?.#UrbanCreature #BettercityBetterLiving #City #People #Sustainability #Innovation
เปิดหูฟัง เปิดสมองคิดไปกับ ‘ปูม-ปิยสุ’ ผู้ก่อตั้ง Seen Scene Space โปรโมเตอร์จัดคอนเสิร์ตสายอินดี้เอเชีย ถึงเรื่อง
ราวล้มลุกคลุกคลานตั้งแต่วันที่เขายังมองตัวเองว่า ‘เป็นเป็ดเล่นดนตรี’ จนถึงวันที่ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในตัวท็อปแห่งวงการเพลงอินดี้เอเชีย
กว่าจะเป็น ‘บุญ-แชร์ COLLECTION’ เก้าอี้ไม้สักสำหรับผู้สูงวัยจากฝีมือชาวแพร่
บาส-เทพวรรณ คณินวรพันธุ์ CEO และผู้ก่อตั้ง ZAAP ออร์แกไนเซอร์แถวหน้าของไทยที่ผ่านงานใหญ่ๆ มามากมาย ไม่ว่าจะเป็น Single Festival, Waterzonic, G19, S2O, บางกอก FEST ฯลฯ ในวันที่อุตสาหกรรมอีเวนต์ต้องเผชิญกับวิกฤต COVID-19 ทำให้งานต่างๆ ถูกยกเลิกทั้งหมด ZAAP ต้องปรับตัวตามสิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งการทำงาน วิธีการคิด และเป้าหมายของทีมในระยะสั้น สำหรับ บาส-เทพวรรณ ในฐานะ CEO วัย 29 ปี สิ่งสำคัญที่ต้องมีคือการยอมรับความจริงกับปัญหาที่เกิดขึ้น และสร้างความเชื่อมั่นให้ทีมว่าเราจะต้องผ่านวิกฤตนี้ไปด้วยกันให้ได้ “ความยากที่สุดของคนทำอีเวนต์ คือไม่รู้ว่าวิกฤตนี้มันจะจบเมื่อไหร่” ในวันที่วงการอีเวนต์ต้องเผชิญกับวิกฤต COVID-19 ที่เป็นเสมือนพายุคลื่นลูกใหญ่ จนทำให้เหล่าวัยรุ่นไม่ได้ออกไปสนุกสุดเหวี่ยงที่ไหน ซึ่งถือเป็นฤกษ์ไม่งามยามไม่ดี แต่เป็นโอกาสที่ทำให้เราได้คุยกับ พี่บาส-เทพวรรณ คณินวรพันธุ์ แห่ง ZAAP ถึงเบื้องหลังคนทำอีเวนต์ และการปรับตัวท่ามกลางสถานการณ์ที่ไม่สู้ดีนัก หลายคนคงรู้จักพี่บาสในฐานะปาร์ตี้บอยชื่อดังที่เคยผิดหวังจากการจัดอีเวนต์ครั้งแรกเมื่อสมัยที่เขาเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตอนนั้นเขาได้เป็นทูตของมหาวิทยาลัย และได้มีโอกาสจัดงานการกุศลเพื่อช่วยเหลือปัญหาน้ำท่วมใหญ่ แต่ดูเหมือนโชคจะไม่เข้าข้าง เพราะจากการจัดงานในครั้งนั้น ทำให้เขาต้องมีหนี้ติดตัวเกือบล้านบาท เขาใช้การจัดปาร์ตี้เพื่อลบล้างหนี้ที่เกิดขึ้น […]
คงเป็นเวลาที่ใครๆ ต่างต้องปรับตัว เพื่อหาทางอยู่รอดในสถานการณ์ไวรัสระบาดที่ไร้วี่แววจะคลี่คลายเร็ววัน โดยเฉพาะ ‘ร้านอาหาร’ ซึ่งเป็นสิ่งที่คนต้องบริโภคอยู่เป็นประจำ กลับซบเซาไม่แพ้ธุรกิจอื่นๆ เลย บ้างก็ยอมลดจำนวนพนักงาน บ้างก็เปลี่ยนจากการ ‘ขายหน้าร้าน’ มาเป็น ‘ออนไลน์’ แทน แต่ไม่ใช่กับทุกคนที่จะปรับตัวเป็นระบบออนไลน์ มาพร้อมจัดส่งได้ทันที ทำให้ ‘Locall (โล-คอล)’ แพลตฟอร์มส่งอาหารได้ถือกำเนิดขึ้น เพื่ออาสาเป็น ‘ตัวกลาง’ ระหว่างลูกค้า และชุมชนประตูผี-เสาชิงช้า ที่กำลังประสบปัญหาให้ ‘อยู่รอด’ ต่อไปได้
แบรนด์สุดคราฟต์ของ แม่อร-อรสา วัย 62 ปี ที่หยิบจับสิ่งของเหลือใช้รอบตัวมาเย็บปักถักร้อยจนกลายเป็นสินค้าแสนอบอุ่น
เพราะหลงเสน่ห์ของความเป็นต่างจังหวัด ทำให้ ‘Dr. Cas’ กราฟฟิตี้อาร์ทติสต์ผู้ไม่เปิดเผยตัวตน ตัดสินใจย้ายจากกรุงเทพฯ มาลงหลักปักฐานที่ชุมชนควรค่าม้า หมู่บ้านเล็กๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ เพราะหลงเสน่ห์ของความเป็นต่างจังหวัด ทำให้ ‘Dr. Cas’ กราฟฟิตี้อาร์ทติสต์ผู้ไม่เปิดเผยตัวตน ตัดสินใจย้ายจากกรุงเทพฯ มาลงหลักปักฐานที่ชุมชนควรค่าม้า หมู่บ้านเล็กๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ เปลี่ยนบ้านเรือนทั่วๆ ไปให้สะดุดตาด้วยงานกราฟฟิตี้ ที่เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชนและศิลปินมากหน้าหลายตา พร้อมความตั้งใจที่จะใช้ศิลปะเข้ามาพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ควบคู่ไปกับการยึดโยงความสัมพันธ์ของคนเข้าด้วยกัน เพื่อรักษาความน่ารัก ความมีน้ำใจ และกลิ่นอายชนบทให้คงไว้ได้นานที่สุด
การเหมารวม (stereotype) คือทัศนคติจากประสบการณ์ที่เคยเจอ ซึ่งคนกลุ่มหนึ่งมีต่อคนอีกกลุ่มหนึ่ง เช่น เชื้อชาติ ศาสนา การเมือง เพศ ไปจนถึงกลุ่มการชอบที่เป็น sub-culture ของสังคม จนกลายเป็นมาตรฐานในการตัดสิน