‘สู้ๆ นะ เธอทำได้’ ปลอบใจอย่างไรให้คนฟังไม่ท้อและคนพูดดูไม่เฟก

หากเราอยากปลอบใจใครสักคน เมื่อคนพูดอยากจะแสดงความห่วงใยแต่จะทำอย่างไรให้คนฟังรู้สึกไม่ท้อ เราจึงขอคำปรึกษาจาก ‘แพทย์หญิงชัชชญา เพียรจงกล’ จิตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญการให้คำปรึกษาปัญหาด้านจิตใจจาก ooca แพลตฟอร์มปรึกษาจิตแพทย์และนักจิตวิทยาออนไลน์ที่จะช่วยแนะนำวิธีปลอบใจที่คนฟังและคนพูดรู้สึกดี

รับมืออย่างไร เมื่อเจอโพสต์อยากฆ่าตัวตายบนโลกโซเชียล

“เรามีความสุขเป็นพิเศษ คงเป็นเพราะวันนี้คือวันสุดท้ายของการมีชีวิตอยู่”“เราคงไม่ได้ตื่นขึ้นมาเห็นพระอาทิตย์ในวันพรุ่งนี้อีกต่อไปแล้ว”“สำหรับเราความตายไม่ใช่ความเจ็บปวดที่สุด แต่คือการมีชีวิตอยู่ต่างหาก” ถ้อยคำที่แฝงไปด้วยความเจ็บปวดจากคนแปลกหน้าบนโลกอินเทอร์เน็ต เป็นสัญญาณเตือนภัย เพื่อบอกว่าเบื้องลึกจิตใจของ ‘เขา’ ต้องการความช่วยเหลือมากกว่าสิ่งอื่นใด จำนวนโพสต์บนหน้าไทม์ไลน์โซเชียลมีเดียของเขาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามเข็มนาฬิกาที่กำลังเดินไปข้างหน้า หนึ่งโพสต์ “เราควรช่วยเหลือเขาไหม”  สองโพสต์ “หรือเราต้องเคารพการตัดสินใจของเขา” สามโพสต์ “ถ้าช่วยต้องทำยังไง” หนึ่งชีวิตที่ไม่เคยรู้จักกัน แต่ความเป็นความตายของเขากลับปรากฏขึ้นตรงหน้า ส่งผลให้เกิดความลังเลไม่รู้ว่าจะช่วยอย่างไร เพราะคอมเมนต์บางส่วนอวยพรให้เขาไป แต่บางส่วนพยายามดึงให้เขากลับมา แล้วเราต้องทำอย่างไร ถ้าหากเจอ ‘คำเตือนแห่งความตาย’ โลดแล่นบนอินเทอร์เน็ต ฉันจึงชวน ‘ดร.สมบุญ จารุเกษมทวี’ อาจารย์ประจำคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาร่วมพูดคุยถึงวิธีการรับมือในประเด็นนี้ ซ่อนเหตุผลบางอย่างในทุกการโพสต์ คุณคิดอะไรอยู่: เบื่อว่ะ วันนี้ไม่มีความสุขเลย คุณคิดอะไรอยู่: ผิดหวังกับคะแนนสอบอีกแล้ว อยากหายตัวไปเลย คุณคิดอะไรอยู่: ชีวิตนี้ไม่เหลืออะไรแล้ว เราไม่อยู่เป็นภาระใครแล้วนะ คิดจะโพสต์ก็โพสต์ไม่ใช่เรื่องสิ้นคิด เพราะหลายคนเลือกระบายความอัดอั้นตันใจ ลงกล่องข้อความบนโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลาแห่งความสุข ความเศร้า ความผิดหวัง ความเหนื่อย ความท้อแท้ หรือบังเอิญเจอเรื่องตลก ทุกข้อความที่พิมพ์ ย่อมมีสาเหตุที่ทำให้เขาอยากโพสต์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสะท้อนตัวตน ตั้งแต่อารมณ์ ความรู้สึก ความนึกคิด ไปจนถึงประสบการณ์ที่เขากำลังเผชิญอยู่ ณ […]

‘ตัวห่างไกลแต่ใจไม่ห่างกัน’ เมื่อการสื่อสารช่วยรักษาความสัมพันธ์ในวันที่มีระยะห่าง

‘LINE’ สื่อกลางเชื่อมทุกความห่างไกล จากความคุ้นชินในชีวิตคนเราเพราะใช้ทุกวัน กับบทบาทของการเป็นแชทแอปฯกลับมาเด่นชัดในชีวิตคนไทยอีกครั้ง เกิดเป็น ‘โมเมนต์’ น่ารักชวนอบอุ่นใจและคุณค่าของการสื่อสารที่ทุกคนสัมผัสได้

แคร์เก่ง อินเก่ง จนเหนื่อย ชวนค้นความรู้สึก “ทำไมบางคนถึงแคร์ทุกคนบนโลก”

ด็อกมี (แสดงโดย พัคมินยอง) จากซีรีส์ Her Private Life เบื้องหน้าเป็นภัณฑารักษ์ แต่เบื้องหลังเป็นติ่งเกาหลีที่ปิดบังความลับไม่ให้เจ้านายและเพื่อนร่วมงานรู้ เพราะกลัวโดนไล่ออกและถูกนินทา อนึ่งเธอแคร์สายตาเจ้านายและคนในสังคม ซอดัลมี (แสดงโดย ซูจี) จากซีรีส์ Start-Up โกหกพี่สาวและแม่แท้ๆ ที่ทิ้งเธอไปตั้งแต่เด็กว่ามีแฟนหล่อ รวย เป็นเจ้าของธุรกิจ และการงานมั่นคง ทว่าความจริงเป็นเพียงเรื่องแต่ง เพราะอยากให้ครอบครัวมองว่าเธอโชคดี อนึ่งเธอแคร์สายตาครอบครัว อิมจูกยอง (แสดงโดย มุนกายอง) จากซีรีส์ True Beauty ทิ้งระยะห่างกับแฟน เพราะไปรู้ว่าเพื่อนสนิทของเธอแอบชอบแฟนตัวเอง แต่สาวเจ้าไม่รู้จะทำอย่างไร จึงเก็บมาหน้านิ่วคิ้วขมวดเครียดคนเดียวที่บ้าน พลางให้แฟนสงสัยอีกว่าเธองอนอะไรกันแน่ อนึ่งเธอแคร์สายตาเพื่อนจน ‘เกินนนนนน’ ไป และลืมแคร์ความรู้สึกตัวเอง 3 ซีรีส์เกาหลีข้างต้นเป็นซีรีส์ที่สนุก ลุ้น ฟิน ได้ด้วยพล็อต นักแสดง และซาวนด์ประกอบ แต่ระหว่างทางกว่าจะถึงจุดไคลแมกซ์ หลายครั้งก็ต้องทุบหมอนตอนดูอยู่หลายครั้งเพราะคาแรกเตอร์นางเอ๊กนางเอกที่ ‘แคร์ทุกคนบนโลก’ แต่ ‘ไม่แคร์ตัวเอง’ ถูกใส่พานมาประเคนให้คนดูเอาใจช่วยและเผลอพูดใส่จออยู่เนืองๆ ว่า “ทำไมแคร์ทุกคนขนาดนี้” “ไม่แคร์บ้างก็ได้” […]

เคี้ยว กลืน หัวเราะ บอกรัก ‘เสียงบำบัด’ ศาสตร์คลายเศร้า

ชวนรู้จักศาสตร์ ‘เสียงบำบัด’ คลายทุกข์ บำรุงหัวใจ ด้วยวิธีกลืนน้ำลาย เคี้ยวข้าว กอดตัวเอง บอกรัก ส่งเสียงฮัม หัวเราะ หรือเคาะกลางอกตอนร้องไห้ ที่ช่วยเปลี่ยนวันแย่ๆ ให้เป็นวันที่ดีขึ้น และเรียกสติกลับมารักตัวเองได้อีกครั้ง

ง้อด้วย ‘ของหวาน’ ทำไมถึงทำให้หายโกรธ?

จริงๆ แล้วแผนการเอาของหวานมาหลอกล่อให้รู้สึกดีไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์และความสัมพันธ์ในร่างกายที่เกี่ยวข้องกัน เราจึงต่อสายตรงไปคุยกับ ‘คุณหมอปีย์ เชษฐ์โชติศักดิ์’ จากเพจ Theory of love​ ผู้มองเรื่องความสัมพันธ์ของความรัก ผ่านวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา เพื่อไขข้อสงสัยว่า ทำไมง้อด้วยของอร่อยถึงหายโกรธง่ายทุกทีเลย

ไม่อยากกลับบ้านเลย ‘เมื่อบ้านไม่ใช่บ้าน’

เหตุผลที่คนไม่อยากกลับบ้านมีอยู่พันหมื่นข้อเรียงยาวลงมาแล้วแต่ประสบการณ์ชีวิตที่แต่ละคนเจอ บ้างไม่ได้รับความอบอุ่นและความรักจากพ่อ-แม่ บ้างก็โดนญาติหรือคนในครอบครัวทำร้ายจิตใจและร่างกายให้บอบช้ำ หรือบ้างประสบปัญหาแบกความคาดหวังจากครอบครัวอย่างหนักอึ้งที่บั่นทอนความสุขลงทุกวัน ‘บ้านไม่ใช่บ้าน’ จึงเป็นประโยคแทนปรากฎการณ์ดังกล่าวได้ดี

‘รู้จักตัวเองให้ดี’ เพื่อตอบเป้าหมายชีวิตให้ชัดเจน

ชวนมาทำความรู้จักตัวเองให้มากขึ้น เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นที่จะสร้างเป้าหมายในชีวิตให้มีความหมาย ผ่านการค้นหาตัวเองด้วย 3 วิธีง่ายๆ ที่ใครก็สามารถทำได้จากสิ่งรอบตัว ที่หลังอ่านบทความนี้ไป อาจจะช่วยปลุกเเรงบันดาลใจให้คุณเข้าใจตัวเอง หรือวางแพลนที่อยากทำในสิ่งที่ชอบให้เกิดขึ้นสักที !

บาดแผลจากคำว่า ‘กะเทย/ทอม’ เมื่อไม่ใช่คนข้ามเพศทุกคนอยากได้ยิน

ตัวร้ายที่บั่นทอนความมั่นใจและทำลายสภาพจิตใจคนข้ามเพศเรียกว่า ‘Misgender’ หรือ การที่คนข้ามเพศเปิดเผยเพศกำเนิดของตนแล้วโดนแปะป้ายด้วยคำพูดและการกระทำที่ทำให้เขาหรือเธอเป็นแบบเพศกำเนิด หรือ เพศที่สังคมอยากจะเรียก ไม่ใช่สิ่งที่ตัวคนข้ามเพศ ‘เลือกจะเป็น’ หรือ ‘เลือกให้เรียก’

‘AI’ จะกลายเป็นเพื่อนคนใหม่ของมนุษย์หลังเกิด ‘COVID-19’ ได้ไหม ?

ลองจินตนาการดูว่าในอนาคต AI อาจจะเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ของเราขนาดไหน แต่ที่แน่ๆ AI อาจจะกลายเป็นเพื่อนสนิทคนใหม่ที่เข้ามาเติมเต็มความโดดเดี่ยวก็ได้นะ

SEND YOUR STORY

REQUEST INTERVIEW

ติดตามอ่าน “Urban Creature”
นิตยสารออนไลน์ที่จะทำให้คุณรักเมืองที่คุณอยู่ รักตัวเองมากขึ้นด้วยการเปิดมุมมองและนำเสนอแนวทางการใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต
Better Life. Better Living.

Max. file size: 256 MB.