‘หลักสูตรดุริยางคศิลป์’ ยังจำเป็นอยู่ไหมในยุคที่ใครก็ทำเพลงได้ ?

ก้าวมาสู่ยุคที่ใครก็สามารถเรียนดนตรีได้ด้วยตัวเองผ่านอินเทอร์เน็ต ทำเพลงลงยูทูป สร้างเงินได้อย่างอิสระ ด้วยเทคโนโลยีที่เข้ามาเปลี่ยนวิถีชีวิตและทำให้โลกดนตรีเปิดกว้างมากกว่าเคย แล้วหลักสูตรดนตรี ยังมีความสำคัญอยู่หรือไม่ ?

ขีดจำกัดของ ‘เพลง’ ยังมีอยู่ไหม ? – ป๋าเต็ด-ยุทธนา บุญอ้อม

ว่ากันว่า ‘ดนตรีคือโลกไร้พรมแดน’ จนบางครั้งขีดจำกัดของเพลงอาจไม่มี ชวนเจาะลึกวงการดนตรีกับตัวพ่อแห่งยุค ‘ป๋าเต็ด-ยุทธนา บุญอ้อม’ ผู้ที่คลุกคลีกับเสียงเพลง จนมองเห็นการเปลี่ยนผ่านของศิลปินไปจนถึงคนฟัง “เพราะคนฟังเพลงง่ายขึ้น ถ้าคุณจะทําเพลง คู่แข่งของคุณก็คือคนทั้งโลก” ป๋าเต็ดยังมองเห็นการเติบโตของอุตสาหกรรมดนตรีที่ตอนนี้คล้ายกับว่าเส้นแบ่งแนวเพลงเริ่มไม่มีอยู่ ไม่เพียงแค่ป๋าที่เห็น แต่เชื่อว่าหลายคนรวมถึงเราก็รู้สึกได้ การพูดคุยครั้งนี้จึงมีครบรสตั้งแต่ยุคแรกแย้มของเสียงเพลง ก้าวใหม่ของวงการดนตรี ไปจนถึงคำถามที่ว่า “จริงๆ แล้วตอนนี้ ดนตรียังมีขีดจำกัดเหลืออยู่หรือเปล่า ?”

ระยะห่างเปลี่ยนดนตรี ‘ป๋าเต็ด’ ยุทธนา บุญอ้อม

ไวรัส COVID-19 ส่งผลกระทบไปทั่วทุกวงการ ไม่พ้น ‘วงการดนตรี’ ที่ตอนนี้ศิลปินหลายคนหันมาไลฟ์สดให้เราสนุกได้แม้อยู่บ้าน เพราะคอนเสิร์ตที่เป็นงานหลักต้องหยุดชะงัก รวมถึงคนทำงานส่วนอื่นต่างต้องพักงานไปตามๆ กัน เราชวน ‘ป๋าเต็ด-ยุทธนา บุญอ้อม’ เจ้าพ่อ music festival และเจ้าของบริษัทแก่น 555 จำกัด มาคุยถึงความเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมเพลงในช่วงโควิด-19 ที่ป๋าเต็ดบอกกับเราว่า ‘ฉิบหาย’ และอนาคตหลังหมดไวรัสซึ่งอาจเกิดขึ้นเหมือนในหนังเรื่องเดอะ เมทริกซ์ ที่คุณอาจดูคอนเสิร์ตที่บ้านแต่จับมือศิลปินที่ชอบได้

SEND YOUR STORY

REQUEST INTERVIEW

ติดตามอ่าน “Urban Creature”
นิตยสารออนไลน์ที่จะทำให้คุณรักเมืองที่คุณอยู่ รักตัวเองมากขึ้นด้วยการเปิดมุมมองและนำเสนอแนวทางการใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต
Better Life. Better Living.

Max. file size: 256 MB.